Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78260
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เรนัส เสริมบุญสร้าง | - |
dc.contributor.author | พชรมณพรรณ ยศสุรินทร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-02T08:16:59Z | - |
dc.date.available | 2023-07-02T08:16:59Z | - |
dc.date.issued | 2022-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78260 | - |
dc.description.abstract | This study’s objective is to study customer’s satisfaction towards marketing mix of Khelangthong Drinking Water to observe the satisfaction with the marketing mix. Collect the data from 400 Khelangthong’s customer were selected by convenience random sampling method and using surveys to collect data and analyze them statistically by percentage, frequency, average, standard deviation and the IPA technique. The study is showed that of all the 400 subjects that took the survey consisted of 169 business owners and 231 regular customers, the majority was female age 50-60. Most subjects have a Bachelor’s Degree and owns business earning around 10,001 to 30,000 THB. The majority of the subjects was found to be regular customers who lives in houses, apartments or flats more than those who are business owners. There were 3-4 residents and mostly consume the 950 cc. bottles (white translucent bottles). The frequency of the order is monthly with cash payment. In addition, the consumption behavior of the business owners viewed hygiene as the deciding factor when choosing the Khelangthong’s service 1-2 times per week, mostly 20L gallons (white translucent gallons) with 70-100 THB worth for each order paid in cash. When considering the expectation level towards the marketing mix of Khelangthong drinking water is high in all aspects which can be sorted as follows; distribution channels, marketing promotions, products and price respectively. When considering the satisfaction level towards the marketing mix of Khelangthong drinking water is high in all aspects which can be sorted as follows; distribution channels, products, price respectively and marketing promotions. When comparing the expectation and satisfaction towards the marketing mix of all 4 sides using the IPA (Importance-Performance Analysis) technique at axis (X = 4.17) and axis (Y= 4.08) ranks high in all aspects which can be sorted as follows; The highest is distribution channels next are products, price and marketing promotions respectively. These can be categorized according to the properties in each respective quadrants as follows; Quadrant B is where customers are satisfied and the producer should maintain the efficiency of these aspects which are distribution channels, Quadrant C is where Khelangthong doesn’t have to worry about these aspects which are product and price, Quadrant D is where these aspects can be utilized in other useful ways which is the marketing promotion. The study showed that Quadrant A in which the business must address and improve immediately is the products which consists of having a variety of sizes available, an easy to open lid, the label clearly detailing the origin of the products etc. The price aspects where there are a wider price range available, the duration and flexibility of credits given out and the marketing promotion like the mannerism of the employees answering the calls. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความพึงพอใจของลูกค้าในอำเภอเมืองลำปาง ต่อส่วนประสมทางการตลาดของน้ำดื่มเขลางค์ทอง | en_US |
dc.title.alternative | Satisfaction of customers in Mueang Lampang district towards marketing mix of Khelangthong drinking Water | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | น้ำดื่มเขลางค์ทอง | - |
thailis.controlvocab.thash | น้ำดื่ม | - |
thailis.controlvocab.thash | น้ำดื่มบรรจุขวด | - |
thailis.controlvocab.thash | พฤติกรรมผู้บริโภค -- ลำปาง | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของลูกค้าในอำเภอเมืองลำปางต่อส่วน ประสมทางการตลาดของน้ำดื่ม เขลางค์ทองเพื่อจะได้ทราบถึงความพึงพอใจต่อส่วนประสมทาง การตลาดของน้ำดื่ม เขลางค์ทองในอำเภอเมืองลำปางโดยการเก็บข้อมูลจากลูกค้าน้ำดื่ม เขลางค์ ทอง จำนวน 400 คนใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบสุ่มตามสะดวก ใช้แบบสอบถามในการเก็บ รวบรวมข้อมูล และนำมาวิเคราะห์ โดยใช้สถิติเชิง ได้แก่ ค่าร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และเทคนิค IPA (Importance-Performance Analysis) ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 400 คน ประกอบไปด้วย กลุ่มลูกค้า ประเภทธุรกิจ จำนวน 169 คน และกลุ่มลูกค้าผู้บริโภค จำนวน 231 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มี อายุระหว่าง 50 - 60 ปีมากที่สุด ส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพค้าขาย ธุรกิจ ส่วนตัว และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001 - 30,000 บาท มากที่สุด ผู้ตอบแบบสอบถามโดยส่วน ใหญ่จะเป็นกลุ่มลูกค้าผู้บริโภคที่พักอาศัย บ้าน หอพัก อาคารชุด เช่น แฟลต มากกว่ากลุ่มลูกค้า ประเภทธุรกิจ มีจำนวนสมาชิกที่พักอาศัย 3 - 4 คน ส่วนใหญ่เลือกใช้น้ำดื่ม ขนาด 950 ซีซี. (ขวด ขาวขุ่น) ความถี่ในการซื้อน้ำดื่ม เขลางค์ทอง เดือน 1 ครั้ง ชำระค่าน้ำดื่มเป็นเงินสดทุกครั้ง นอกจากนี้ พฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มลูกค้าประเภทธุรกิจ โดยส่วนใหญ่มีเหตุผลที่ตัดสินใจ เลือกใช้บริการของน้ำดื่ม เขลางค์ทอง ในด้านความสะอาดของน้ำดื่ม มีความถี่ในการซื้อน้ำดื่ม ขลางค์ทอง สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ส่วนใหญ่เลือกใช้น้ำดื่มขนาด 20 ลิตร (ถังขาวขุ่น) มียอดคำสั่งซื้อ น้ำดื่ม เขลางค์ทองต่อครั้ง 70 - 100 บาท ชำระค่าน้ำดื่มเป็นเงินสดทุกครั้ง เมื่อพิจารณาระดับความคาดหวังต่อส่วนประสมการตลาดของน้ำดื่ม เขลางค์ทอง ใน ภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกปัจจัย ซึ่งสามารถเรียงลำดับได้ดังนี้ ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายมี ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมา คือ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ตามลำดับ เมื่อพิจารณาระดับความพึงพอใจต่อส่วนประสมการตลาดของน้ำดื่ม เขลางค์ทอง ใน ภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกปัจจัย ซึ่งสามารถเรียงลำดับได้ดังนี้ ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายมี ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบระดับความคาดหวังและความพึงพอใจต่อส่วนประสมการตลาดทั้ง 4 ด้าน โดยใช้เทคนิค IPA (Importance-Performance Analysis) ที่จุดตัด (X = 4.17) และแกน (Y= 4.08) อยู่ในระดับมากทุกปัจจัยเรียงลำดับ คือ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย มีระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการส่งเสริมการตลาด สามารถแบบตามคุณสมบัติที่อยู่ใน Quadrant ต่าง ๆ ดังนี้ ส่วนประสมการตลาดที่อยู่ใน Quadrant B คือ ผู้บริโภคมีความพึงพอใจ และ ผู้ผลิตควร รักษาประสิทธิภาพของปัจจัยเหล่านั้นไว้ ได้แก่ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ส่วนประสม การตลาดที่อยู่ในอยู่ใน Quadrant C คือ น้ำดื่ม เขลางค์ทองไม่จำเป็นต้องให้ความสำคัญกับปัจจัย เหล่านั้น ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์และด้านราคา และส่วนประสมการตลาดที่อยู่ใน Quadrant D คือ น้ำ ดื่ม เขลางค์ทอง สามารถนำปัจจัยเหล่านั้นไปจัดสรรในการนำมาใช้ประ โยชน์ในด้านอื่นๆ ที่ เหมาะสม ได้แก่ ด้านการส่งเสริมการตลาด ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยย่อยที่อยู่ใน Quadrant A ซึ่งเป็นปัจจัยย่อยที่ต้องให้ความสนใจ และควรปรับปรุงแก้ไขอย่างเร่งด่วน คือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ได้แก่ เรื่องผลิตภัณฑ์มีขนาค หลากหลายให้เลือกซื้อ เรื่องฝาจุกเปิด ปิด ได้สะดวก เรื่องฉลากแสดงรายละเอียดของแหล่งผลิต อย่างชัดเจน ปัจจัยด้านราคา ได้แก่ ได้แก่ เรื่องราคาหลากหลายตามความต้องการ เรื่องระยะเวลาใน การให้เครดิตหรือสามารถขยายเวลาในการชำระค่าน้ำดื่ม ปัจจัยด้านการส่งเสริมทางการตลาดที่ ได้แก่ เรื่องกิริยามารยาทของพนักงานที่สื่อสารผ่านทางโทรศัพท์ เป็นต้น | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621532110 พชรมณพรรณ ยศสุรินทร์.pdf | 2.43 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.