Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78258
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรพิณ สันติธีรากุล-
dc.contributor.authorจิรวรรณ นันชัยอุดมen_US
dc.date.accessioned2023-07-01T07:02:54Z-
dc.date.available2023-07-01T07:02:54Z-
dc.date.issued2022-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78258-
dc.description.abstractThe objective of this independent study was to study the level of happiness at work, to compare the happiness levels and to study the factors affecting happiness at work of Generation X and Generation Y state enterprise operating employees in Chiang Mai Province. The sample group was 200 state enterprise operating employees in Chiang Mai, divided into 100 Generation X employees and 200 Generation Y employees. The instrument used for data collection was a questionnaire, and the data was then analyzed through a computer program which included frequency, percentage, mean, Independent Sample t-Test, and Multiple Regression Analysis. The results of the study showed that the average level of opinion on factors affecting the overall happiness of Generation X and Generation Y state enterprise operating employees were at the high level (X ̅= 3.97 and X ̅= 3.79, respectively). When considering the average level of opinion on the 11 factors affecting happiness at work of Generation X, it was found that 9 factors were at the high level, namely achievement (X ̅= 4.04), the work itself (X ̅= 3.64), responsibility (X ̅= 3.69), salary (X ̅= 3.71), interpersonal relationship with supervisors (X ̅= 3.77), interpersonal relationship with subordinates (X ̅= 3.66), company policy and administration (X ̅= 3.74), working conditions (X ̅ = 3.76) and job security (X ̅= 3.83), and 2 factors were at the moderate level, namely recognition (X̅ = 3.49) and possibility for growth (X ̅= 3.08). For the average level of opinions on the 11 factors affecting happiness at work of Generation Y, it was found that 9 factors were at the high level, namely job security (X ̅= 3.93), responsibility (X ̅= 3.86), working conditions (X ̅= 3.76), salary (X ̅= 3.73), interpersonal relationship with supervisors (X ̅= 3.69), the work itself (X ̅= 3.64), recognition (X ̅= 3.63), achievement (X ̅= 3.62) and company policy and administration (X ̅= 3.62) and 2 factors were at the moderate level, namely interpersonal relationship with subordinates (X ̅= 3.39) and possibility for growth (X ̅= 2.98) When comparing the differences between Generation X and Generation Y overall happiness at work, the results of the study revealed that the overall working happiness of Generation X and Generation Y state enterprise employees in Chiang Mai was different (Sig = 0.005) at the significance level of 0.05. From the study of factors affecting happiness at work of Generation X and Generation Y state enterprise operating employees analyzed with Multiple Regression equations, it was found that 2 factors that affected happiness at work of Generation X were job security (Beta = 0.308) and responsibility (Beta = 0.238), which can predict happiness at work. There are 3 factors that affected happiness at work of Generation Y which were company policy and administration (Beta = 0.294), job security (Beta = 0.235) and interpersonal relationship with subordinates (Beta = 0.220), which can predict happiness at work of Generation Y by 32.0%.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสุขในการทำงานของพนักงานรัฐวิสาหกิจระดับ ปฏิบัติการเจเนอเรชันเอ็กซ์และเจเนอเรชันวาย ในจังหวัด เชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeHappiness at work of generation X and generation Y state enterprise operating employees in Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashคุณภาพชีวิตการทำงาน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashความพอใจในการทำงาน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashพนักงานรัฐวิสาหกิจ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความสุขในการทำงาน เปรียบเทียบความสุขในการทำงาน และศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงาน ของพนักงาน รัฐวิสาหกิจระดับปฏิบัติการเจเนอเรชันเอ็กซ์และเจเนอเรชันวาย ในจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานรัฐวิสาหกิจระดับปฏิบัติการในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 200 ราย แบ่งออกเป็นเจเนอเร ชันเอ็กซ์ จำนวน 100 ราย และเขนอเรชันวาช จำนวน 200 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) ดำเนินการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทาง คอมพิวเตอร์หาค่าความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) การวิเคราะห์ Independent Sample t-Test และสมการถดถอยพหุคุณ (Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานโดยรวม ของพนักงานรัฐวิสาหกิจระดับปฏิบัติการเจเนอเรชันเอ็กซ์และเจเนอเรชันวายอยู่ในระดับมาก (X = 397 และ X = 3.79 ตามลำดับ เมื่อพิจารณาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความสุขในการทำงานของเจเนอเรชันเอ็กซ์ 11 ด้าน ซึ่งอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก 9 ปัจจัย ได้แก่ ด้านความสำเร็จในงาน (X = 4.04) ด้านความมั่งคงปลอดภัยในการทำงาน (X = 3.83) ด้าน ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา (X = 3.77 ด้านสภาพการทำงาน (X = 3.7) ด้นนโยบายและการ บริหาร (X = 3.74) ด้านเงินเดือนและผลประโยชน์เกื้อกูล (X = 3.71) ด้านความรับผิดชอบ (X = 3.69) ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน (X = 3.66) และด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ (X = 3.64) และอยู่ในระดับเห็นด้วยปานกลาง 2 ปัจจัย ได้แก่ ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ (X = 3.49) และ ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งการงาน (X = 3.08) ส่วนของค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของเจเนอเรชันวาย 11 ด้าน ซึ่งอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก 9 ปัจจัย ได้แก่ ด้านความมั่งคงปลอดภัยในการทำงาน (X = 3.93) ด้านความรับผิดชอบ (X = 3.86) ด้านสภาพการ ทำงาน (X = 3.76) ด้านเงินเดือนและผลประโยชน์เกื้อกูล (X = 3.73) ด้านความสัมพันธ์กับ ผู้บังกับบัญชา (X = 3.69) ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ (X - 3.64) ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ (X = 3.63) ด้านความสำเร็จในงาน (X = 3.62) และด้านนโยบายและการบริหาร (X = 3.62) และอยู่ใน ระดับเห็นด้วยปานกลาง 2 ปัจจัย ได้แก่ ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน (X = 3.39) และ ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งการงาน (X = 2.98) จากการศึกษาการเปรียบเที่ยบความแตกต่างระหว่างความสุขในการทำงานโดยรวมของ เจเนอเรชันเอ็กซ์และเจเนอเรชันวาย ผลการศึกษาพบว่าความสุขในการ ทำงาน โดยรวมของพนักงาน รัฐวิสาหกิจระดับปฏิบัติการเจเนอเรชันเอ็กซ์และเจเนอเรชันวาย ในจังหวัดเชียงใหม่แตกต่างกัน (Sig = 0.005) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 จากการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของพนักงานรัฐวิสาหกิจระดับปฏิบัติการ เจเนอเรชันเอ็กซ์และเจเนอเรชันวาย การวิเคราะห์โดยการใช้สมการถดถอยพหุคุณ พบว่าปัจจัยที่ ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของจนอเรชันเอ็กซ์มี 2 ปัจจัย ได้แก่ ความมั่นคงปลอดภัยในการ ทำงาน (Beta = 0.308) และด้านความรับผิดชอบ (Beta = 0.238) ซึ่งสามารถพยากรณ์ความสุขในการ ทำงานของเจเนอเรชันเอ็กซ์ได้ 14.7% ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของเจเนอเรชันวายมี 3 ปัจจัย ได้แก่ ด้านนโยบายและการบริการ (Beta = 0.294) ด้านความมั่นคงปลอดภัยในการทำงาน (Beta = 0.235) และด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน (Beta = 0.220) ซึ่งสามารถพยากรณ์ความสุขในการ ทำงานของเจเนอเรชันวายได้ 32.0%en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532081 จิรวรรณ นันชัยอุดม.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.