Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78251
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสายนที ปรารถนาผล-
dc.contributor.advisorนันทิการ์ สันสุวรรณ-
dc.contributor.advisorเพียงขวัญ สงวนหมู่-
dc.contributor.authorสิรามล ศรกล้าen_US
dc.date.accessioned2023-07-01T05:02:09Z-
dc.date.available2023-07-01T05:02:09Z-
dc.date.issued2022-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78251-
dc.description.abstractObstructive sleep apnea (OSA) which is a sleep disorder characterized by partial and/or intermittent complete upper airways obstruction, was associated with deficits in pulmonary and respiratory muscle function. Inspiratory muscle training (IMT) has been reported as an effective treatment to improve respiratory muscle function and decrease OSA symptoms in adults with OSA, however, its effects on pulmonary and respiratory muscle function in children and adolescents with OSA and obesity remain unknown. Thus, this study aimed to investigate the feasibility and effect of IMT on pulmonary and respiratory muscle function of children and adolescents with OSA and obesity. A single group repeated measures study was conducted in five children and adolescents with OSA and obesity. A home-based IMT was performed with an initial training load at 60% of maximal inspiratory pressure (MIP). The IMT consisted of 80 breaths per day, sevendays weeklyfor 12 weeks with progressively increased load every three weeks. The outcomes included pulmonary function variables, MIP, and maximal voluntary ventilation (MVV) were the primary outcomes, and the Sleep Related Breathing Disorder-Pediatric Sleep Questionnaire (SRBD-PSQ) score was a secondary outcome. All outcomes were measured at baseline and after training at week 3, 6, 9, and 12. The results found that from 12-week of IMT to baseline, participants had increased in MIP, varying from 8.0% to 83.5%. Maximal voluntary ventilation (MVV) was increased, ranging from 0.1% to 36.1%. The Sleep Related Breathing Disorder-Pediatric Sleep Questionnaire (SRBD-PSQ) score were decreased. However, the extent of improvement in these variables were varied among individuals. There were no changes in pulmonary function variables. No adverse event wasobserved during evaluation and IMT, except one patient who had recurrent adenoid hypertrophy at week 10 of training. Thus, improvements in respiratory muscle functionand sleep apnea symptoms after IMT but not pulmonary function, suggesting the feasibility of IMT for OSA management in children and adolescents with OSA and obesity.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลการฝึกกล้ามเนื้อหายใจเข้าที่บ้านต่อสมรรถภาพปอดและการทำงานของกล้ามเนื้อหายใจในเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ เนื่องจากทางเดินหายใจอุดกั้นและอ้วน: รายงานผู้ป่วยen_US
dc.title.alternativeEffects of home-based inspiratory muscle training on pulmonary and respiratory muscle function in children and adolescents with obstructive sleep apnea and obesity: case reportsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ-
thailis.controlvocab.thashภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับในเด็ก-
thailis.controlvocab.thashการนอนหลับผิดปกติ-
thailis.controlvocab.thashการฝึกหายใจ-
thailis.controlvocab.thashการหายใจ -- การวัด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับเนื่องจากทางเดินหายใจอุดกั้น (obstructive sleep apnea, OSA) ซึ่งเป็นความผิดปกติของการหายใจขณะนอนหลับที่เกิดจากการอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนต้น บางส่วนและหรือทั้งหมด เป็นระยะ ๆ มีความเกี่ยวข้องกับความบกพร่องของสมรรถภาพปอดและ การทำงานของกล้ามเนื้อหายใจ มีรายงานว่าการฝึกกล้ามเนื้อหายใจเข้านั้นมีประสิทธิภาพในการ ปรับปรุงการทำงานของกล้ามเนื้อหายใจเข้าและลดอาการ OSA ในผู้ใหญ่ที่มีภาวะ OSA แต่อย่างไรก็ ตามยังไม่ทราบแน่ชัดถึงผลการฝึกกล้ามเนื้อหายใจเข้าต่อสมรรถภาพปอดและการทำงานของ กล้ามเนื้อหายใจเข้าในเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะ OSA และอ้วน ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ ประเมินความเป็นไปได้และผลของการฝึกกล้ามเนื้อหายใจเข้าต่อสมรรถภาพปอดและกล้ามเนื้อ หายใจในเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะ OSA และอ้วน ทำการศึกษาด้วยการวัดซ้ำในกลุ่มตัวอย่างเดียวที่เป็น เด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะ OSA และอ้วนจำนวน 5 คน ฝึกกล้ามเนื้อหายใจเข้าที่บ้านด้วยแรงด้านการฝึก เริ่มต้นที่ 60% ของค่าความแข็งแรงสูงสุดของกล้ามเนื้อหายใจเข้า (maximal inspiratory pressure, MIP) จำนวน 80 ครั้งต่อวัน สัปดาห์ละ 7 วัน เป็นเวลา 12 สัปดาห์ โดยปรับแรงด้านใหม่ทุก ๆ 3 สัปดาห์ ตัวแปรในการศึกษาประกอบด้วย ตัวแปรสมรรถภาพปอด ความแข็งแรงสูงสุดของกล้ามเนื้อ หายใจเข้า และความทนทานของกล้ามเนื้อหายใจ (maximal voluntary ventilation, MVV) ซึ่งเป็นตัว แปรหลัก และคะแนนจากแบบสอบถาม Sleep Related Breathing Disorder-Pediatric Sleep Questionnaire (SRBD-PSQ) เป็นตัวแปรรอง ตัวแปรทั้งหมดถูกประเมินทั้งก่อนฝึกและหลังฝึกใน สัปดาห์ที่ 3, 6, 9 และ 12 ผลการศึกษาพบว่าจากสัปดาห์ที่ 12 ของ IMT เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเริ่มต้น กลุ่มตัวอย่างมีค่า ความแข็งแรงสูงสุดของกล้ามเนื้อหายใจเข้าเพิ่มขึ้น โดยอยู่ในช่วง 8% - 83.59% ความทนทานของ กล้ามเนื้อหายใจมีค่าเพิ่มขึ้นอยู่ในช่วง 0.1% - 36.1% คะแนนจากแบบสอบถาม SRBD-PSQ มีค่า ลดลง แต่อย่างไรก็ตามระดับการดีขึ้นของตัวแปรเหล่านี้ ในแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน ส่วนตัว แปรสมรรถภาพปอดไม่มีการเปลี่ยนแปลง ไม่พบอาการไม่พึงประสงค์ทั้งในขณะตรวจประเมินและ ขณะฝึกกล้ามเนื้อหายใจ ยกเว้น 1 รายที่มีต่อมอะดีนอยด์กลับมาโตช้ำ ดังนั้นความแข็งแรงและความ ทนทานของกล้ามเนื้อหายใจเข้า รวมทั้งอาการ OSA ที่ดีขึ้นภายหลังการฝึกกล้ามเนื้อหายใจเข้า แสดง ให้เห็นถึงความเป็นไปได้ของการฝึกกล้ามเนื้อหายใจเข้าเพื่อการจัดการภาวะ OSA ในเด็กและวัยรุ่นที่ มีภาวะ OSA และอ้วนen_US
Appears in Collections:AGRO: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621131014 สิรามล ศรกล้า.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.