Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78250
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Patcharin Krutmuang | - |
dc.contributor.advisor | Malee Thungrabeab | - |
dc.contributor.advisor | Supamit Mekchay | - |
dc.contributor.author | Julius Onyango Rajula | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-01T04:47:58Z | - |
dc.date.available | 2023-07-01T04:47:58Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78250 | - |
dc.description.abstract | Globally, there is a fierce fight to ensure food security for the soaring population in the stare of global warming that has caused a paradigm shift in the agricultural industry. The weather patterns have not only become unpredictable but also unfathomable. Notably, other regions of the world have slowed down in population growth, however, the Food and Agriculture Organization estimates that the population of Africa still grows at about 3%. Prominently, maize has been a major crop in many countries and contributing immensely to food that is consumed either by humans or animals. However, in the year 2016, maize in Africa received a new invasive pest from the Americas known as Fall Armyworm (Spodoptera frugiperda Smith). Soon after, the pest had reached Asia and the devastation of maize plantations has been immense. Fall armyworm is an insect pest of more than 100 plant species with a preference for graminaceious species mainly causing damage to economically important cultivated cereals such as maize, rice, sorghum, Bermuda grass, crabgrass, and also to vegetable crops and cotton. Notably, controlling fall armyworm has mainly depended on synthetic chemicals even though, biological control has been used time and again. Since its discovery in Africa and Asia, research has been going on with the aim of finding a biological control in addition to the chemicals that are already in place and continue to be sought. Therefore, this research aimed at using Beauveria bassiana to control fall armyworm in maize. Six isolates of Beauveria bassiana (BCMU1, BCMU2, BCMU3, BCMU4, BCMU5, and BCMU6) were tested against the second instar larvae of fall armyworm in the laboratory by dipping them in two different concentrations and observations done daily to record mortality with three replications. Additionally, the glycosyl transferase-like protein 1 (GAS1) gene was analyzed. All the isolates caused mortality to fall armyworm with BCMU6 causing the highest mortality of 91.67%. Consequently, all the isolates of Beauveria bassiana contained the GAS1 gene which codes for cuticle penetration and aides in the infection process. This result shows the potentiality of controlling fall armyworm using Beauveria bassiana which is a biological intervention that is ecofriendly. In addition, the presence of glycosyl transferase-like protein 1 (GAS1) gene in Beauveria bassiana further corroborates their infection potential to fall armyworm. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Molecular characterization of GAS1 gene from entomopathogenic fungi and their virulence against Fall Armyworm Spodoptera Frugiperda Smith. | en_US |
dc.title.alternative | ลักษณะทางโมเลกุลของยีน GAS1 จากเชื้อราแมลง และความรุนแรงของเชื้อต่อการเข้าทำลายหนอนกระทู้ลายจุดข้าวโพด Spodoptera frugiperda | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Beauveria bassiana | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Fall Armyworm | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Genes | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Spodoptera frugiperda | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | หลายประเทศทั่วโลกมีการแข่งขันกันอย่างสูงเพื่อสร้างหลักประกันความมั่นคงด้านอาหาร เพื่อรองรับประชากรโลกที่เพิ่มสูงขึ้นท่ามกลางภาวะโลกร้อนที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง กระบวนการผลิตในระบบอุตสาหกรรมการเกษตรรูปแบบของสภาพอากาสไม่เพียงแต่คาดเดาไม่ได้ แต่ยังไม่สามารถรับรู้ถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคอื่น ๆ ของโลกเกิด การชะลอการเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างไรก็ตามองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ ประเมินว่าประชากรของแอฟริกายังคงเติบโตที่ประมาณ 3 เปอร์เซ็นต์ ข้าวโพดเป็นพืชเศรษฐกิจที่ สำคัญในหลายประเทศ เป็นแหล่งอาหารที่มีความสำคัญอย่างมากในการบริโภคไม่ว่าจะโดยมนุษย์ หรือสัตว์เลี้ยง อย่างไรก็ตาม ในปี 2559 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในทวีปแอฟริกาพบมีความเสียหายอย่าง หนัก จากการเข้าทำลายของแมลงศัตรูพืชชนิดใหม่จากทวีปอเมริกาที่เรียกว่า หนอนกระทู้ข้าวโพด ลายจุด (Fall Armyworm) Spodoptera frugiperda Smith จากนั้นแมลงศัตรูพืชชนิดนี้มีการอพยพสู่ทวีป เอเชีย เกิดการระบาดรุกรานสร้างความเสียหายอย่างหนักในไร่ข้าวโพด หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดมี พืชอาหารมากกว่า 100 สายพันธุ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพืชในวงศ์ graminaceious ซึ่งส่วนใหญ่เป็นธัญพืช ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ อาทิ ข้าวโพด ข้าว ข้าวฟ้าง ข้าวสาลี หญ้าแพรก หญ้าปล้อง รวมถึงพืชผัก และฝ้าย เป็นที่น่าสังเกตว่าการควบคุมประชากรของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด จะใช้สารเคมี สังเคราะห์เป็นหลัก แม้ว่าการควบคุมโดยชีววิธีจะถูกนำมาใช้ในบางครั้ง นับตั้งแต่มีการพบการ ระบาดในทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย การศึกษาวิจัยได้ดำเนินไปโดยมีเป้าหมายเพื่อค้นหาวิธีการ ควบคุมทางชีววิธี เพื่อลดการใช้สารเคมีในปัจจุบัน และยังมีการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นงานวิจัยนี้จึง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้เชื้อรา Beauveria bassiana ในการควบคุมหนอนชนิดนี้ มีการใช้เชื้อรา Beauveria bassiana 6 สายพันธุ์ (BCMU1, BCMU2, BCMU3, BCMU4, BCMU5 และ BCMU6) ทดสอบกับหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดวัย 2 (instar 2) ในห้องปฏิบัติการ โดยจุ่มหนอนลงในสาร แขวนลอยสปอร์เชื้อราความเข้มข้นที่แตกต่างกันสองระดับ การทดลองทำ 3 ซ้ำ และบันทึกผลอัตรา การตายทุกวัน นอกจากนี้ทำการศึกษาวิเคราะห์ยีน glycosyl transferase-like protein 1 (GAS1) ผล การศึกษาพบว่าเชื้อราสายพันธุ์ BCMU6 มีความสามารถในการก่อให้เกิดโรคกับหนอนกระทู้ข้าวโพด ลายจุดสูงที่สุดที่อัตราการตายสะสมเฉลี่ย 91.67 เปอร์เซ็นต์ มากไปกว่านั้นพบว่าเชื้อรา Beauveria bussiama ทุกสายพันธุ์ที่ใช้ในการทดสอบพบยีน GAS1 ซึ่งเป็นยีนส์ที่แสดงออกในเชื้อราที่มี ความสามารถในการเจาะทะลุผนังลำตัวของแมลง และช่วยในกระบวนการติดเชื้อในแมลงอย่าง รวดเร็ว ผลลัพธ์นี้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพในการควบคุมหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดโดยใช้เชื้อรา Beauveria bassiana ซึ่งเป็นขบวนการทางชีวภาพที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ การค้นพบยืน glycosyl transferase-like protein 1 (GAS1) ในเชื้อรา Beauveria bassiana ยืนยันถึงศักยภาพในการเพิ่ม การติดเชื้อในหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620851005 JULIUS ONYANGO RAJULA.pdf | 1.95 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.