Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78248
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล-
dc.contributor.advisorรุจ ศิริสัญลักษณ์-
dc.contributor.advisorพรสิริ สืบพงษ์สังข์-
dc.contributor.authorนฤมล คําดีen_US
dc.date.accessioned2023-07-01T03:52:39Z-
dc.date.available2023-07-01T03:52:39Z-
dc.date.issued2022-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78248-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study physical, economic and social characteristics of quality strawberry production under Good Agricultural Practices (GAP) and analyze the factors affecting farmers’ adoption of good agricultural practices of quality strawberry farmers in Samoeng district, Chiang Mai province. The sample of this research was strawberry farmers in Samoeng district, Chiang Mai province of 241 cases from a simple random sampling method. The interview schedules and focus group discussion were used to collect data between January and July 2021. Descriptive statistics such as percentage, mean, maximum, minimum and standard deviation were applied for data analysis and multiple regression analysis was used for analyzing the relationship between the independent variables and dependent variables. The results reveal that most of the farmers were male, average age of 43.47 years, finished primary school, the average strawberry cultivation experience was 11.84 years, the average strawberry planting area was 2.82 rai and the average net income was 126,019.71 baht per year. Products are mainly distributed through middlemen. Only 13.3 percent were group membership. Received an information average of 1.79 sources and had an average of contact with officer 0.42 times per year. Farmers had perception about good agricultural practices at a moderate level and had a good attitude about good agricultural practices. The result of the hypothesis testing found that factors affecting farmers’ adoption of good agricultural practices of quality strawberry correlated with positive statistically significant were the attitude of GAP, contact with an officer about GAP, planting area and education level. In contrast, the market had a statistically significant but in negative correlation with the adoption of good agricultural practices of quality strawberry production. Therefore suggested that farmers perception about GAP should be continuously promoted. Providing market advice or where buy GAP products and regular monitored and evaluate. This will encourage farmers to achieve their goals and able to sell produce at a higher price and modified to use GAP that will suitable for long term production.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเกษตรดีที่เหมาะสมของเกษตรกรผู้ปลูกสตรอว์เบอร์รีคุณภาพ อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactors affecting farmers’ adoption of good agricultural practices in quality strawberry production, Samoeng district, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- การรวมกลุ่ม-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- สะเมิง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashสตรอว์เบอร์รี -- การปลูก -- สะเมิง (เชียงใหม่)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคมในการผลิต สตรอว์เบอร์รีคุณภาพภายใต้ระบบเกษตรดีที่เหมาะสม และวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเกษตร ดีที่เหมาะสมในการผลิตสตรอว์เบอร์รีคุณภาพของเกษตรกรผู้ปลูกสตรอว์เบอร์รี ในอำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ เกษตรกรผู้ปลูกสตรอว์เบอร์รี ในอำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 241 รายจากวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย โดยใช้แบบสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มในการ เก็บข้อมูลระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนกรกฏาคม พ.ศ. 2564 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุ ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุเฉลี่ย 43.47 ปี การศึกษาอยู่ในระดับ ประถมศึกษา มีประสบการณ์ในการปลูกสตรอว์เบอร์รี่เฉลี่ย 11.84 ปี ขนาดพื้นที่ปลูกสตรอว์เบอร์รี เฉลี่ย 2.82 ไร่ รายได้สุทธิเฉลี่ย 126,019.71 บาทต่อปี จำหน่ายผลผลิตผ่านพ่อค้าคนกลางเป็นหลัก มีการรวมกลุ่มน้อย เพียงร้อยละ 13.3 ได้รับข้อมูลข่าวสารเฉลี่ย 1.79 แหล่ง มีการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ เฉลี่ย 0.42 ครั้งต่อปี เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบเกษตรดีที่เหมาะสมอยู่ในระดับ ปานกลาง และมีทัศนคติที่ดีต่อระบบเกษตรดีที่เหมาะสม จากการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการยอมรับเกษตรดีที่ เหมาะสมในการผลิตสตรอว์เบอร์รีคุณภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ทัศนคติที่มีต่อระบบ เกษตรดีที่เหมาะสม การติดต่อกับเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับระบบเกษตรดีที่เหมาะสม ขนาดพื้นที่ปลูก สตรอว์เบอร์รี และระดับการศึกษา ในทางตรงกับข้ามแหล่งจำหน่ายมีความสัมพันธ์เชิงลบกับการ ยอมรับเกษตรดีที่เหมาะสมในการผลิตสตรอว์เบอร์รีคุณภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากงานวิจัยควรมีการส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับระบบ GAP อย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง มีการ แนะนำตลาดหรือแหล่งรับซื้อผลผลิต GAP ให้แก่เกษตรกร และคอยติดตามประเมินผลสม่ำเสมอ เพื่อ กระตุ้นให้เกษตรกรดำเนินการ ได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ สามารถจำหน่ายผลผลิตในราคาที่สูงขึ้นได้ และมีการปรับเปลี่ยนมาใช้ระบบเกษตรดีที่เหมาะสมได้ในระยะยาวen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620831050 นฤมล คำดี.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.