Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78246
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวสวัชร นาคเขียว-
dc.contributor.authorปิ่นมณี อินเสือen_US
dc.date.accessioned2023-06-30T10:14:31Z-
dc.date.available2023-06-30T10:14:31Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78246-
dc.description.abstractPost-weld heat treatment, or PWHT, is often used to improve the mechanical properties of materials that have been welded. Several publications have investigated the effects of the PWHT process using experimental designs. However, the modeling and optimization using the integration of machine learning (ML) and metaheuristics have yet to be reported, which are fundamental steps toward intelligent manufacturing applications. This research proposes a novel approach using ML techniques and metaheuristics to optimize PWHT process parameters. The goal is to determine the optimal PWHT parameters for both single and multiple objective perspectives. In this research, support vector regression (SVR), K-nearest neighbors (KNN), decision tree (DT), and random forest (RF) were ML techniques employed to obtain a relationship model between PWHT parameters and mechanical properties: ultimate tensile strength (UTS) and elongation percentage (EL). The results show that the SVR demonstrated superior performance among ML techniques for both UTS and EL models. Then, SVR is used with metaheuristics such as differential evolution (DE), particle swarm optimization (PSO), and genetic algorithms (GA). SVR-PSO shows the fastest convergence among other combinations. The final solutions of single-objective and Pareto solutions were also suggested in this research.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectDissimilar friction stir weldingen_US
dc.subjectPost weld heat treatmenten_US
dc.subjectMachine learningen_US
dc.subjectMetaheuristicen_US
dc.subjectProcess optimizationen_US
dc.subjectกระบวนการเชื่อมเสียดทานแบบหมุนกวนen_US
dc.subjectกระบวนการทางความร้อนหลังเชื่อมen_US
dc.subjectเทคนิคการเรียนรุ้ของเครื่องen_US
dc.subjectอัลกอริทึมเมตาฮิวริสติกส์en_US
dc.subjectการหาค่าที่ดีที่สุดของกระบวนการผลิตen_US
dc.titleการหาค่าที่เหมาะที่สุดของกระบวนการทางความร้อนหลังเชื่อมของรอยเชื่อมเสียดทานแบบหมุนกวนอลูมิเนียมผสมต่างชนิด 2024-T3 และ 7075-T651 โดยใช้การเรียนรู้ของเครื่องและเมตาฮิวริสติกส์en_US
dc.title.alternativePost weld heat treatment optimization of dissimilar friction stir welded AA2024-T3 and AA7075-T651 using machine learning and metaheuristicsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการเชื่อม-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้ของเครื่อง-
thailis.controlvocab.thashเมตาฮิวริสติก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractกระบวนการทางความร้อนหลังเชื่อม (Post Weld Heat Treatment; PWHT) เป็นกระบวนการที่ถูกใช้อย่างแพร่หลายเพื่อปรับปรุงสมบัติเชิงกลของวัสดุที่ผ่านการเชื่อม จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า การศึกษาผลกระทบของกระบวนการ PWHT ส่วนใหญ่อาศัยการออกแบบทดลองแบบดั้งเดิม เช่น การออกแบบการทดลองแบบแฟกทอเรียล หรือการออกแบบการทดลองแบบทากูชิ ซึ่งมีข้อจำกัดทั้งในด้านระดับของปัจจัยและความไม่ยื่นหยุ่นต่อการเก็บข้อมูล การสร้างแบบจำลองและการหาค่าที่เหมาะที่สุดโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้ของเครื่อง (Machine Learning; ML) และเมตาฮิวริสติกส์ (Metaheuristics) เป็นวิธีการพื้นฐานที่ถูกประยุกต์ใช้กับกระบวนการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาให้มีความอัจฉริยะ (Smart Manufacturing) เข้ากับยุคอุตสาหกรรม 4.0 แต่อย่างไรก็ตามวิธีการดังกล่าวยังไม่ถูกนำมาใช้ร่วมกับกระบวนการ PWHT งานวิจัยนี้จึงมีความสนใจที่จะเสนอแนวทางใหม่โดยใช้เทคนิค ML และเมตาฮิวริสติกส์สำหรับหาค่าพารามิเตอร์ที่ดีที่สุดในกระบวนการ PWHT ทั้งในแบบวัตถุประสงค์เดียวและหลายวัตถุประสงค์ โดยใช้เทคนิค ML ที่แตกต่างกันจำนวน 4 เทคนิค ได้แก่ ซัพพอร์ตเวกเตอร์แบบถดถอย (Support Vector Regression; SVR) ขั้นตอนวิธีการเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด (K-Nearest Neighbors) เทคนิคต้นไม้ตัดสินใจ (Decision Tree) และเทคนิคป่าสุ่ม (Random Forest) สำหรับสร้างแบบจำลองแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพารามิเตอร์และสมบัติเชิงกล จากผลลัพธ์พบว่า SVR สามารถสร้างแบบจำลองของกระบวนการ PWHT ได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งแบบจำลอง UTS และ EL ในขั้นตอนการหาค่าที่เหมาะที่สุด ผู้วิจัยเลือกใช้เมตาฮิวริสติกส์จำนวน 3 อัลกอริทึม ได้แก่ วิธีวิวัฒนาการโดยใช้ผลต่าง (Differential Evolution) ขั้นตอนวิธีหาค่าเหมาะสมที่สุดแบบกลุ่มอนุภาค (Particle Swarm Optimization; PSO) และขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม (Genetic Algorithms) จากการทดลองการหาค่าที่ดีที่สุดแบบวัตถุประสงค์เดียวพบว่า SVR-PSO สามารถหาคำตอบได้เร็วที่สุด รองลงมาคือ SVR-DE และ SVR-GA ตามลำดับ จากการประเมินค่าตัวชี้วัด Hypervolume ของชุดคำตอบพาเรโตที่ได้จากการหาค่าที่เหมาะที่สุดแบบหลายวัตถุประสงค์ พบว่า SVR-DE มีการลู่เข้าคำตอบในอุดมคติได้ดีที่สุด โดยผลลัพธ์สุดท้ายของการหาค่าที่เหมาะที่สุดในกระบวนการ PWHT แบบวัตถุประสงค์เดียว และชุดคำตอบแบบพาเรโตจากการหาค่าที่เหมาะที่สุดแบบหลายวัตถุประสงค์ได้แสดงไว้ดังบทสรุปของงานวิจัยนี้en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630631052-ปิ่นมณี อินเสือ.pdf15.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.