Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78226
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปฐมาวดี จงรักษ์ | - |
dc.contributor.author | ยุวธิดา ขะจ๋อม | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-29T09:46:20Z | - |
dc.date.available | 2023-06-29T09:46:20Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78226 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to study the effects on work-life balance from online teaching and learning. Approaches to problem management and adaptation Including guidelines for developing and improving the policy of online teaching and learning for parents of students in elementary school in Muang Chiang Mai District. The researcher chose a qualitative research technique by using the interview form as a research tool and interviewing parents of elementary school students in Muang Chiang Mai district. The results of the study revealed that the online teaching and learning management policy of elementary school students in Muang Chiang Mai district. It affects each element of the work-life balance differently is 1) Working, the child's study time corresponds to the parent's working time, resulting in inefficient work Therefore, it is necessary to hire a caregiver or have a family member take care of them instead. 2) On the family side, the time spent doing activities decreased. causing all family members to take on more responsibilities Therefore, the duties of child care must be clearly divided. 3) Less time, working time and parental life. because they have to allocate time to take care of their children causing parents to allocate or divide time and reduce the time for various activities or private activities to take care of the children. 4) Financially, there are more expenses causing parents to limit their daily spending reduce unnecessary expenses. 5) Intellectually, online learning is a new learning style with the use of modern technology media in learning. causing parents to study and understand the skills of using technology media and lesson content They also have to control their emotions in caring for their children. In order not to cause stress on the child and on the parents themselves 6) Personal aspects No time for personal activities causing parents to reduce their personal favorite activities and have to spend time during the holidays to do activities instead. It can be seen that the management of online teaching and learning affects the composition of the work-life balance of parents. Parents have different approaches to managing and adapting to different situations. which everyone wants to live in their own way with the most value and to make your child's online learning as efficient as possible. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลกระทบของนโยบายการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ต่อความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานของผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้นในอำเภอเมืองเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Impact of online teaching and learning policy during the spread of the Coronavirus disease 2019 Pandemic on the work-life balance of parents of early primary school level students in Mueang Chiang Mai District. | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การเรียนการสอนผ่านเว็บ | - |
thailis.controlvocab.thash | การเรียนรู้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ | - |
thailis.controlvocab.thash | การเรียนการสอนผ่านเว็บ -- โปรแกรม | - |
thailis.controlvocab.thash | โควิด-19 (โรค) | - |
thailis.controlvocab.thash | การเรียนการสอนผ่านเว็บ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบต่อความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานจากการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ แนวทางการ จัดการ ปัญหาและการปรับตัว รวมทั้งแนวทางการพัฒนาปรับปรุงแก้ไขนโยบายการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้นในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ซึ่งผู้วิจัยเลือกใช้เทคนิควีธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการวิจัยและทำการสัมภาษณ์ผู้ปกครองของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้นในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 18 คน ผลการศึกษา พบว่า นโยบายการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ส่งผลต่อแต่ละองค์ประกอบของ ความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานแตกต่างกัน คือ 1) ด้านการทำงาน เวลาเรียน ของบุตรตรงกับเวลาทำงาน ของผู้ปกครองทำให้การทำงานไม่เต็มประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องจ้างผู้ดูแลหรือให้สมาชิกในครอบครัวดูแลแทน 2) ด้านครอบครัวเวลาในการทำกิจกรรมลดลง ทำให้สมาชิกในครอบครัวทุกคนต้องรับภาระหน้าที่เพิ่มขึ้น จึงต้องแบ่งหน้าที่ในการดูแลบุตรที่ชัดเจน 3) ด้านเวลา เวลาในการทำงานและการใช้ชีวิตของผู้ปกครองน้อยลง เพราะต้องแบ่งเวลามาดูแลบุตร ทำให้ผู้ปกครองต้องจัดสรรเวลาหรือแบ่งเวลาและลดเวลาในการทำกิจกรรมต่างๆ หรือกิจกรรมส่วนตัว เพื่อดูแลบุตร 4) ด้านการเงิน มีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นทำให้ผู้ปกครองต้องจำกัดการใช้จ่ายในแต่ละวันลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น 5) ด้านสติปัญญาการเรียนออนไลน์เป็นการเรียนรูปแบบใหม่มีการใช้สื่อเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการเรียนทำให้ผู้ปกครองต้องศึกษาทำความเข้าใจในเรื่องทักษะการใช้สื่อเทคโนโลยีและเนื้อหาบทเรียนทั้งต้องควบคุมสติอารมณ์ในการดูแลบุตรเพื่อไม่ให้เกิดความเครียดต่อบุตรและต่อตัวผู้ปกครองเอง 6) ด้านส่วนบุคคล ไม่มีเวลาในการทำกิจกรรมส่วนตัวทำให้ผู้ปกครองต้องลดการทำกิจกรรมที่ชื่นชอบส่วนตัว และต้องใช้เวลาในช่วงวันหยุดทำกิจกรรมแทน ซึ่งจะเห็นได้ว่าการจัดการการเรียนการสอนออนไลน์ ส่งผลต่อองค์ประกอบของความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานของผู้ปกครอง โดยผู้ปกครองจะมีแนวทางการจัดการและปรับตัวที่แตกต่างกันไปในแต่ละสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งทุกคนต้องการที่จะใช้ชีวิตในแบบของตนเองอย่างคุ้มค่าที่สุดและเพื่อให้การเรียนออนไลน์ของบุตรมีประสิทธิภาพมากที่สุด | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631932042 ยุวธิดา ขะจ๋อม.pdf | 6.39 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.