Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78219
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorเบญญทิพย์ สิงห์ธรen_US
dc.date.accessioned2023-06-29T01:31:06Z-
dc.date.available2023-06-29T01:31:06Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78219-
dc.description.abstractThis paper aims to 1) study the pathway to enhance the Center for Quality of Life Development and Career Promotion for the Elderly at Tungphee Sub district, Mae Wang District, Chiang Mai and 2) investigate the standards and factors affecting the Center for Quality of Life Development and Career Promotion for the Elderly with a limited budget at Tungphee Sub district, Mae Wang District, Chiang Mai Province. This is a qualitative study that which in-depth interviews, semi-structured interviews, and focus group discussions were used to collect data from the key informants consisting of 10 groups of people. Then the data was analyzed using 1) content analysis based on theoretical frameworks and related studies and 2) analytic induction based on data from the interviews and focus group The findings reveal that there are five pathways to enhance the quality of life of the elderly people at the Center for Quality of Life Development and Career Promotion for the Elderly, Tungphee Sub district which is 1) welfare management under the collaboration between a local government organization and local administrators 2) collaborative management under the collaboration of local government organization, local administrators, the government organization at the national and regional level and the community 3) collaborative management under the collaboration of local government organization, the government organization at the national and regional level and the community 4) collaborative management under the collaboration between a local government organization and the community and 5) collaborative management under the collaboration of the government organization at the national and regional level and the community. Besides, the two factors affecting the enhancement of the Center for Quality of Life Development and Career Promotion for the Elderly are leadership and strong networking.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุในตำบลทุ่งปี๊ อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEnhancing the center for quality of life development and career promotion for the elderly at Tungphee Subdistrict, Mae Wang District, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashคุณภาพชีวิต-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ - - อาชีพ-
thailis.controlvocab.thashการส่งเสริมอาชีพ - - แม่วาง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ - - แม่วาง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต - - แม่วาง (เชียงใหม่)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการขับเคลื่อนศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งปี๊ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุภายใต้ข้อจำกัดด้านงบประมาณ และ 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการขับเคลื่อนศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งปี๊ ตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ภายใต้ข้อจำกัดด้านงบประมาณ โดยงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกแบบกึ่งมีโครงสร้างและการสนทนากลุ่มเฉพาะ ประกอบด้วยประชากรและผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 10 กลุ่ม และการวิเคราะห์ข้อมูล 2 ส่วน ได้แก่ 1) การวิเคราะห์เนื้อหา โดยสรุปจากข้อมูลที่ได้จากการศึกษา เอกสารแนวคิด ทฤษฎี งามวิจัยที่กี่ยวข้อง และ 2) การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย โดยได้จากการเก็บรวบรวบข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม ผลการศึกษาพบว่า แนวทางในการพัฒนาการขับเคลื่อนศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส.) องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งปี๊ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุภายใต้ข้อจำกัด ด้านงบประมาณ มีทั้งสิ้น 5 แนวทาง ประกอบด้วย 1) แนวทางการจัดสวัสดิการร่วมกันระหว่างภาคส่วนท้องถิ่นกับท้องที่ 2) แนวทางการจัดสวัสดิการร่วมกันระหว่างภาคส่วนท้องถิ่น ท้องที่ หน่วยงานส่วนกลาง/ส่วนภูมิภาค และชุมชน 3) แนวทางการจัดสวัสดิการร่วมกันระหว่างภาคส่วนท้องถิ่นหน่วยงานส่วนกลาง/ส่วนภูมิภาคและชุมชน 4) แนวทางการจัดสวัสดิการร่วมกันระหว่างภาคส่วนท้องถิ่น และชุมชน และ 5) แนวทางการจัดสวัสดิการร่วมกันระหว่างหน่วยงานส่วนกลาง/ส่วนภูมิภาค และชุมชน ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการขับเคลื่อนศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (สพอส.) มี 2 ปัจจัย ประกอบด้วยความเข้มแข็งของผู้นำ และความเข้มแข็งของเครือข่ายen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932029 เบญญทิพย์ สิงห์ธร.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.