Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78213
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัสสนัย วรรธนัจฉริยา-
dc.contributor.authorสร้อยทอง ลุงปานen_US
dc.date.accessioned2023-06-29T00:49:41Z-
dc.date.available2023-06-29T00:49:41Z-
dc.date.issued2022-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78213-
dc.description.abstractUsing plasma-activated water (PAW), UVC, and Ultrasonic to reduce Profenofos pesticide residues was investigated in this study. For H2O2induction in water plasma, plasma activation was subsequently combined with UVC (PAW-UV). At 10 and 20 min, plasma generation produced 5.13 ppm and 6.00ppm H2O2. After that, the chili samples were soaked intreatment conditions for 10 min using on/off Ultrasonic(US). As a result, PAW-UV20 US 10 reducedProfenofos below the maximum residual limit (MRL)of fresh chili (3 ppm) from the control chili sample (Untreated) 10 ppm to only 2.32 ppm, a reduction of 76.8%.Furthermore, it was observed that the US, PAW-UV10 US10, and PAW-UV20 US10 test conditions had an increased effect on the L* (lightness) and b* (yellowness) values in the color analysis of chili samples. In addition, chili samples treated with PAW-UV but not exposed to the US in the infusion had lower b* values than the control. Testing in all chili samples did not affect the change in a* (redness) value and the E difference in fresh chili color. As a result, this study is another one that may be used to help determine the best conditions for decreasing pesticide residues. It also involves non-thermal technology research to increase food safety standards.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประยุกต์ใช้น้ำกระตุ้นพลาสมาร่วมกับยูวีซีและอัลตราโซนิกเพื่อลดสารตกค้างโพรฟีโนฟอสในพริกสดen_US
dc.title.alternativeApplication of plasma activated water with UV-C and Ultrasonic to reduce Profenofos residues in fresh chilien_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashยูวีซี-
thailis.controlvocab.thashอัลตราโซนิก-
thailis.controlvocab.thashโพรฟีโนฟอส-
thailis.controlvocab.thashพลาสมา-
thailis.controlvocab.thashพริก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษาการประยุกต์นำน้ำกระตุ้นพลาสมา ยูวีซี และ อัลตราโซนิกในการลดสาร ตกค้างยาฆ่าแมลงโพรฟีโนฟอส โดยเริ่มจากการกระตุ้นพลาสมาร่วมกับยูวีซี (PAW-UV) เพื่อการ กระตุ้นทำให้เกิด H2O2 ในน้ำพลาสมา ในการกระตุ้นพลาสมาร่วมกับการฉายที่ 10 และ 20 นาที สามารถวัดค่า H2O2 5.13 ppm และ 6.00 ppm จากนั้นนำเงื่อนไขการทดลองดังกล่าวไปทดลองแช่ใน ตัวอย่างพริกร่วมกับการเปิด/ไม่เปิด อัลตราโซนิก (US) ที่ 10 นาที พบว่าเงื่อนไขการทดลอง PAW-UV20 US 10 สามารถลดสารโพรฟีโนฟอสได้ต่ำกว่าค่าการปนเปื้อนยาฆ่าแมลงสูงสุดที่ยอมรับได้ หรือ (Maximum Residual Limit, MRL) ของพริกสด (3 ppm) จาก 10 ppm ที่เป็นชุดพริกควบคุม (Untreated) เหลือเพียง 2.32 ppm หรือ 76.8% นอกจากนี้เกี่ยวกับการวิเคราะห์สีตัวอย่างพริก พบว่า เงื่อนไขการทดสอบแบบ US, PAW-UV10 US10 และ PAW-UV20 US10 เกิดการส่งผลกระทบต่อค่า L* (lightess) และ b* (yellowness) เพิ่มขึ้น ส่วนตัวอย่างพริกที่ผ่านการทดลองด้วย PAW-UV แต่ ไม่ได้ใช้ US ในการแช่ จะส่งผลให้ค่า b* ลดลงเมื่อเทียบกับชุดควบคุม อย่างไรก็ตาม การทดสอบใน ทุก ๆ ตัวอย่างพริกไม่พบการเปลี่ยนแปลงของค่า a* (redness) และความแตกต่างค่าสีพริกสดโดยรวม △E ดังนั้นงานวิจัยนี้เป็นอีกหนึ่งงานวิจัย ที่สามารถอ้างอิงในการหาเงื่อนไขที่เหมาะสมต่อการลดสาร ตกค้างของยาฆ่าแมลงรวมถึงการพัฒนาเทคโนโลยีไม่ใช้ความร้อนเพื่อยกระดับมารตฐานความ ปลอดภัยในอาหารให้ดียิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631084 สร้อยทอง ลุงปาน.pdf33.08 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.