Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78188
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรีดา พิชยาพันธ์-
dc.contributor.authorณฐพนธ์ พักตรผิวen_US
dc.date.accessioned2023-06-27T10:26:25Z-
dc.date.available2023-06-27T10:26:25Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78188-
dc.description.abstractTraffic accidents is a principal problem in Thailand. It's necessary to prevent and repair urgently. The number of accidents and deaths in Thailand increasing dramatically in every year. Traffic accidents not only impact with economic but also impact with environment, quality of life and the state of mind of the people. This research was conducted to analyse the factor that influencing to the Willingness-to-Pay (WTP) and estimate WTP for road fatality reduction in Chiang Mai by using Contingent Valuation Method (CVM) and Kishi's Logit Model Price Sensitivity Measurement (KLP). Collected from the questionnaire, the 400 samples of road users in Chiang Mai City was surveyed. The results showed that Gender, Occupation, Individuals Income, Alcohol Using and Accident Experience are factors related to WTP significantly. The willingness-to-pay of sample groups who travel in Chiang Mai City by CVM, WTP from motorcyclists is 1,312 bath perperson, WTP from car users is 2 ,456 bath perperson and the average of both sample groups equal to 1 ,884 bath perperson. By KPL, the reasonable WTP from motorcyclists is 726 bath perperson, the reasonable WTP from car users is 2,355 bath perperson and the average of sample groups the reasonable WTP equals to 1,540 bath perperson. The Value of Statistical Life (VSL) by CVM is 12.39 millions bath perperson. By KLP the reasonable VSL equals to 10.13 millions bath perperson. The results of this study can be using for reveal to population to understand and realize from tha impacts of road accidents, to analyze the direct benefits of development or construction projects related to road traffic, to used as a supporting data for analysis of policy planning to reduce road accidents and to improving road safety on the most optimal project within a limited budget and assess the effectiveness of completed projects.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินมูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อลดการสูญเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEvaluation of willingness-to-pay for road fatality reduction in Chiang Mai Cityen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashอุบัติเหตุทางถนน-
thailis.controlvocab.thashความปลอดภัยในท้องถนน-
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมโยธา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractประเทศไทยเป็นประเทศที่มีปัญหาทางการจราจรบนถนนเป็นอย่างมากและมีความจำเป็นที่ จะต้องเร่งทำการป้องกันและแก้ไข ซึ่งประเทศไทยเคยมีอัตราการเกิดอุบัติเหตุและเสียชีวิตเพิ่มสูงมาก ขึ้นในทุกๆปี อุบัติเหตุส่งผลกระทบทั้งสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตและจิตใจ งานวิจัยเล่มนี้จึง มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับมูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อลดการสูญเสียชีวิตจาก อุบัติเหตุทงถนนในเมืองเชียงใหม่ และประเมินมูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อลดการสูญเสียชีวิตจาก อุบัติเหตุทางถนนในเมืองเชียงใหม่ ด้วยวิธี Contingent Valuation Method (CVM) และวิธี Kishi's Logit Model Price Sensitivity Measurement (KLP) จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ใช้ถนนในเมืองเชียงใหม่ จำนวน 400 ตัวอย่าง จากการศึกษาพบว่าปัจจัยด้านเพศ อาชีพ รายได้ส่วนตัว รายได้ต่อครัวเรือน การดื่ม แอลกอฮอล์ก่อนหรือระหว่างการขับขี่ และประสบการณ์เป็นผู้ประสบหรือร่วมประสบอุบัติเหตุ มี ความสัมพันธ์ต่อมูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อลดความเสี่ยงในการสูญเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ในเมืองเชียงใหม่ อย่างมีนัยสำคัญ มูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายของกลุ่มผู้เดินทางในเมืองเชียงใหม่ด้วยวิธี CVM กลุ่มผู้ใช้ รถจักรยานยนต์ในการเดินทางในชีวิตประจำวันมีค่าเท่ากับ 1,312 บาทต่อคน กลุ่มผู้ใช้รถยนต์ในการ เดินทางในชีวิตประจำวันมีค่าเท่ากับ 2,500 บาทต่อคน และค่าเฉลี่ยรวมของทั้งสองกลุ่มเท่ากับ 1,884 บาทต่อคนและวิธี KLP ของกลุ่มผู้เดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ในชีวิตประจำวัน ระดับมูลค่าความเต็ม ใจที่จะจ่ายที่เหมาะสมเท่ากับ 26 บาทต่อคน และกลุ่มผู้เดินทางด้วยรถยนต์ในชีวิตประจำวัน ระดับ มูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายที่เหมาะสมเท่ากับ 2,355 บาทต่อคน และค่าเฉลี่ยของทั้งสองกลุ่มตัวอย่าง มี ระดับมูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายที่เหมาะสมเท่ากับ 1,540 บาทต่อคน นอกจากนี้ยังวิเคราะห์มูลค่าชีวิตเชิงสถิติของกลุ่มผู้เดินทางในเมืองเชียงใหม่พบว่ามูลค่าชีวิตเชิงสถิติจากวิธี CVM มีค่า 12.39 ล้านบาท ต่อคนและ วิธี KLP มีค่ามูลค่าชีวิตเชิงสถิติที่เหมาะสมมีค่าเท่ากับ 10.13 ถ้านบาทต่อคน จากผลการศึกษาที่ได้สามารถนำไปนำเสนอต่อประชาชนให้เข้าใจและตระหนักถึงผลกระทบ ของอุบัติเหตุมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังสามารถนำไปวิเคราะห์หาผลประโยชน์ทางตรงของโครงการพัฒนา หรือก่อสร้างที่เกี่ยวข้องกับการจราจรบนถนน ใช้เป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์วางแผนเชิง นโยบายเพื่อลดอุบัติเหตุ พัฒนาทางเลือกในการปรับปรุงความปลอดภัยทางถนนในสายทางที่ เหมาะสมที่สุดภายใต้งบประมาณอันจำกัด และประเมินประสิทธิภาพของโครงการที่ดำเนินแล้วเสร็จ ได้en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631008 ณฐพนธ์ พักตรผิว.pdf4.06 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.