Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78181
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อภิชาต โสภาแดง | - |
dc.contributor.author | ณิชาภัทร คำอ้าย | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-27T00:50:35Z | - |
dc.date.available | 2023-06-27T00:50:35Z | - |
dc.date.issued | 2023-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78181 | - |
dc.description.abstract | Inventory management is essential for all businesses because having too few or too many raw materials can have negative effects on the business, such as stock-outs or product deterioration. The data gathered from the case study indicates that the case study company had ordered more raw materials than was used and had a high inventory holding period. This resulted in excess inventory and high inventory costs. This study aims to improve inventory management effectiveness by examining the order quantity for 112 raw material items in group AA, derived from level 2 of the ABC classification method of the case study company. Then, the variation coefficient (VC) of demand for raw materials was used to determine the ordering volume of raw materials based on the assumptions of the Peterson-Silver theory, which found that 86 items of the stable demand for raw materials were analyzed using the Economic Order Quantity (EOQ) method. For unstable demand, 17 items used the Silver-Meal (SM) method, and 9 items used the Part-Period Balancing (PBB) method. In addition, we analyzed safety stock levels and reorder points with order quantity analysis to prevent and avoid shortages. The total inventory cost of the case study was then calculated and compared to the company’s actual total inventory cost from 2019 to 2021, showing that this study could minimize total inventory costs. It also analyzes how the situation has changed. We performed the sensitivity analysis using the Monte Carlo simulation to find the critical inputs that will affect the total inventory cost (output) in an abnormal situation, such as the Coronavirus Disease (COVID-19). As a result, the total cost of raw materials in group AA that uses methods decreased by 44.58 percent in 2019, 44.52 percent in 2020, and 45.55 percent in 2021. The case study company’s conditions show that there is no shortage of raw materials. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลังของบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ | en_US |
dc.title.alternative | Improving inventory management effectiveness of auto-parts manufacturing company | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การควบคุมสินค้าคงคลัง | - |
thailis.controlvocab.thash | สินค้าคงคลัง | - |
thailis.controlvocab.thash | เครื่องยนต์ -- ชิ้นส่วน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การจัดการสินค้าคงคลังมีความสำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากการมีวัตถุดิบน้อยหรือมากเกินไปอาจทำให้เกิดปัญหาได้ จากการเก็บรวบรวมข้อมูลพบว่า บริษัทกรณีศึกษามีปริมาณการสั่งซื้อวัตถุดิบมากกว่าปริมาณการใช้งานและมีระยะเวลาหมุนเวียนสินค้าคงคลังสูง ส่งผลทำให้ปริมาณสินค้าคงคลังมากเกินไปและยังทำให้ต้นทุนรวมสินค้าคงคลังสูง โดยวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ทำการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลังด้วยการวิเคราะห์การกำหนดปริมาณการสั่งซื้อของวัตถุดิบคงคลังกลุ่ม AA ที่ได้มาจากการจำแนกประเภทวัตถุดิบด้วยวิธี ABC ในระดับที่ 2 จำนวน 112 รายการ โดยทำการวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน (VC) ของวัตถุดิบเพื่อใช้ในการกำหนดวิธีการที่เหมาะสมในการกำหนดปริมาณการสั่งซื้อตามสมมติฐานของทฤษฎี Peterson-Silver ซึ่งพบว่าวัตถุดิบที่มีลักษณะความต้องการคงที่จำนวน 86 รายการจะทำการกำหนดปริมาณการสั่งซื้อด้วยวิธีการสั่งซื้อแบบประหยัด EOQ และวัตถุดิบที่มีลักษณะความต้องการไม่คงที่จำนวน 26 รายการแบ่งออกเป็น 17 รายการทำการกำหนดปริมาณการสั่งซื้อด้วยวิธี SM และ 9 รายการทำการสั่งซื้อด้วยวิธี PBB จากนั้นทำการวิเคราะห์หาปริมาณสินค้าคงคลังสำรองและจุดสั่งซื้อใหม่ โดยใช้ร่วมกับการวิเคราะห์ปริมาณการสั่งซื้อ เพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดปัญหาวัตถุดิบขาดแคลนและทำการคำนวณหาต้นทุนรวมที่ได้จากการวิเคราะห์เพื่อทำการเปรียบเทียบกับต้นทุนรวมที่เกิดขึ้นจริงด้วยข้อมูลปีพ.ศ.2562 – พ.ศ.2564 เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของวิธีการที่ได้จากการวิเคราะห์ อีกทั้งยังทำการวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ โดยทำการวิเคราะห์ความอ่อนไหวด้วยเทคนิคการจำลองสถานการณ์มอนติคาร์โล เพื่อหาปัจจัยนำเข้าที่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนรวมของการจัดการสินค้าคงคลังเมื่อเกิดสถานการณ์ไม่ปกติ อาทิเช่น สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จากผลการวิเคราะห์การปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลังพบว่า วิธีการที่ได้จากการวิเคราะห์สามารถลดต้นทุนรวมการจัดการสินค้าคงคลังของปีพ.ศ.2562 – พ.ศ.2564 ลงจากเดิมได้ถึง 44.58% 44.52% และ 45.55% ตามลำดับ อีกทั้งยังไม่เกิดปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบตามเงื่อนไขของบริษัทกรณีศึกษา | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620631062 - NICHAPHAT KHAMAI.pdf | 43.95 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.