Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78178
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวเรศ เชาวนพูนผล-
dc.contributor.advisorกรรณิกา แซ่ลิ่ว-
dc.contributor.authorอดิพงษ์ จันต๊ะคาดen_US
dc.date.accessioned2023-06-26T10:38:36Z-
dc.date.available2023-06-26T10:38:36Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78178-
dc.description.abstractThis independent study sought to investigate the financial feasibility of producing 100% orange juice through a high-pressure process in Mueang District, Chiang Rai Province, as well as to assess the project's sensitivity to change. The data was analyzed using descriptive methods to study the context of the orange juice market, cost components, and income components, and consider financial feasibility by using criteria such as payback period, net present value, benefit cost ratio, and rate of return within the project, and assess the risks by analyzing the sensitivity to changes in project cost and revenue factors. According to research on orange juice goods and the market, the orange juice market accounted for 40-50 percent of the Thai fruit juice market. The majority of consumers favoured 100% orange juice products. In Thailand, there were four types of orange juice production: ultra-high temperature (UHT), pasteurization, high--pressure processing (HPP), and fresh squeezed. The HPP product was one of the non-heated pasteurized products. The country's biggest operators produced the majority of UHT, pasteurized, and HPP goods. There are avenues of distribution all around the country. Local enterprises typically made fresh-squeezed items, which they marketed in the neighborhood or in the community. Large businesses make UHT, pasteurized, and HPP orange juice goods in Chiang Rai Province. There are distribution channels through supermarkets, convenience stores, etc. Local entrepreneurs manufactured fresh squeezed juice, which was sold in local shops and markets. The project's cost and income study revealed that it was divided into three parts: 1) A total of 10,575,550 baht was invested in land, buildings, office equipment, machinery, and vehicles; 2) production costs ranged from 4,354,050 to 6,139,769 baht; and 3) operating costs ranged from 676,000 to 705,260 baht. Furthermore, the product was sold through dealers in Chiang Rai through 16 convenience stores and 5 supermarkets, for a total of 21 branches, at a selling price of 46 baht per unit, and the project expects to earn between 7,051,800 and 10,939,950 baht from selling products from the first to the tenth year. According to the criteria for project investment consideration, the project had a payback duration of 4.47 years, a net present value of 13,074,339 baht, a benefit per cost of 1.23, and a project rate of return of 16.78 percent, indicating that the repayment period was within the project life. The net present value of the investment was positive. The project's rate of return was higher than the government bond yields it used, and the rate of return on cost was larger than 1. It may be concluded that the initiative to make 100% orange juice using a high-pressure technique, often known as HPP orange juice, is still a worthwhile investment. Furthermore, the results of the consideration criteria revealed that the project was financially viable. Sensitivity analysis considering the project's cost and revenue risk factors, it was discovered that a 10% increase in cost changes affected the project's investment consideration criteria as follows: the payback period was increased by 15.17 percent, from 4.47 to 5.15 years, the net present value has decreased from 13,074,339 to 9,700,700 baht (25.80 percent decrease), the value decreased from 1.23 to 1.16 (5.69 percent decrease), and the project's rate of return has fallen from 16.78 percent to 12.87 percent (23.30 percent decrease). In the case of a change in income, a 10% decrease affected the criteria for considering project investment as follows: the payback period has increased from 4.47 to 6.10 years (36.47 percent increase), the net present value fell from 13,074,339 to 5,992,692 baht (54.16 percent decrease), the return on investment has dropped from 1.23 to 1.10. (10.56 percent change), and the project's rate of return has dropped from 16.78 percent to 8.35 percent (50.20 percent decrease). As a result of this test, the criteria for project investment consideration showed that the project had investment potential. However, the change in the project's revenue declined. It had a significant impact on the project's feasibility. Therefore, the income factor was a significant risk factor for the project that may have affected the project negatively.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินของการผลิตน้ำส้ม 100% ด้วยกระบวนการความดันสูงในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeFinancial feasibility of 100% orange juice production by high pressure processing in Mueang district, Chiang Rrai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashน้ำส้ม -- การผลิต-
thailis.controlvocab.thashน้ำส้ม -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashอัตราผลตอบแทน-
thailis.controlvocab.thashต้นทุนการผลิต-
thailis.controlvocab.thashต้นทุนและประสิทธิผล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินของการผลิตน้ำส้ม 100% ด้วยกระบวนการความดันสูง ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย มีวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อศึกษาความเป็น ไปได้ทางด้านการเงิน ของการผลิตน้ำส้ม 100% ด้วยกระบวนการความดันสูงในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย และวิเคราะห์ ความไวต่อการเปลี่ยนแปลงของโครงการ ใช้ข้อมูลจากการสัมภายณ์ผู้ประกอบการธุรกิจส้มใน จังหวัดเชียงราย จำนวน 1 ราย ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการเชิงพรรณนาในการศึกษาบริบท ของตลาดน้ำส้ม องค์ประกอบของต้นทุน องค์ประกอบของรายได้ และพิจารณาความเป็นไปได้ ทางด้านการเงิน โดยใช้หลักเกณฑ์การพิจารณา ประกอบด้วย ระยะเวลาคืนทุน มูลค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน อัตราผลตอบแทนกายในโครงการ และประเมินความเสี่ยงด้วยการ วิเคราะห์ความไวต่อการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยค้านต้นทุนและรายได้ของโครงการ ตลาดผลิตภัณฑ์น้ำส้ม มีสัดส่วนร้อยละ 40 - 50 ของตลาดน้ำผลไม้ไทย และเป็นผลิตภัณฑ์ที่ นิยมบริโภคมากที่สุด ทั้งในรูปแบบยูเอชที พาสเจอร์ไรส์ เอชพีพี และคั้นสด โดยมีการจำหน่ายใน หลากหลายช่องทาง ส่วนใหญ่ผลิตโดยผู้ประกอบการรายใหญ่ของประเทศ มีช่องทางการจำหน่ายไป ทั่วประเทศ ส่วนผลิตภัณฑ์แบบคั้นสด ส่วนใหญ่ผลิตโดยผู้ประกอบการท้องถิ่นวางจำหน่ายในพื้นที่ ใกล้เคียงหรือในชุมชน ในพื้นที่เชียงรายมีผลิตภัณฑ์น้ำส้มแบบยูเอชที พาสเจอร์ไรส์ และเอชพีพี ผลิต จากผู้ประกอบการรายใหญ่ มีช่องทางจำหน่ายผ่านซุปเปอร์มาร์เก็ต ร้านสะดวกซื้อ เป็นต้น ส่วนแบบ คั้นสด ผลิตจากผู้ประกอบการท้องถิ่น มีช่องทางวางจำหน่ายผ่านร้านค้าท้องถิ่น ตลาดสด เป็นต้น ผลการศึกษาต้นทุนและรายได้ของโครงการ พบว่า ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1) เงินลงทุน เริ่มแรก 10,575,550 บาท เป็นการลงทุนในที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง อุปกรณ์สำนักงาน เครื่องจักรยานพาหนะ และอื่นๆ 2 ต้นทุนค่ใช้จ่ายในการผลิต อยู่ระหว่าง 4,354,050 - 6,139,769 บาท 3) ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน อยู่ระหว่าง 676,000 - 705,260 บาท นอกจากนี้ในส่วนของด้าน รายได้ของโครงการ มาจากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ โดยเป็นการจำหน่ายผ่านตัวแทนจำหน่ายในพื้นที่ จังหวัดเชียงราย ผ่านช่องทางร้านสะดวกซื้อ 16 สาขา ซุปเปอร์มาร์เก็ต 5 สาขา รวมเป็นทั้งหมด 21 สาขา โดยมีราคาจำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำส้ม 46 บาทต่อหน่วย ซึ่งโครงการคาดว่าจะมีรายได้จากการ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่ปีที่ 1 - 10 อยู่ระหว่าง 7,051,800 - 10,939,950 บาท การพิจารณาความเป็นไปได้ในการลงทุนของโครงการ พบว่า โครงการมีระยะเวลาคืนทุน 4.47 ปี มูลค่าปัจจุบันสุทธิ 13,074,339 บาท อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุน 1.23 และอัตราผลตอบแทน ของโครงการร้อยละ 16.78 กล่าวคือ ระยะเวลคืนทุนอยู่ในกรอบของอายุโครงการ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ มีค่าเป็นบวก อัตราผลตอบแทนของโครงการมากกว่า ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลที่โครงการใช้ อ้างอิง และอัตราผลตอบแทนต่อต้นทุนมีค่ามากกว่า 1 จึงสรุปได้ว่าโครงการผลิตผลิตภัณฑ์น้ำส้ม 100% ด้วยกระบวนการความดันสูง หรือที่เรียกว่าน้ำส้มแบบเอชพีพี นั้นยังคงมีความน่าสนใจในการ ลงทุน อีกทั้งผลจากเกณฑ์การพิจารณาแสดงให้เห็นว่าโครงการมีความเป็นไปได้ในการลงทุน การทดสอบความไวต่อการเปลี่ยนแปลงของโครงการ โดยพิจารณาปัจจัยเสี่ยงด้านต้นทุน และรายได้ของโครงการ พบว่า กรณีมีการเปลี่ยนแปลงด้านต้นทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 มีผลต่อเกณฑ์ การพิจารณาการลงทุนของ โครงการ คังนี้ ระยะเวลาคืนทุนมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจาก 4.47 ปี เป็น 5.15 ปี (เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.17) มูลค่าปัจจุบันสุทธิมีการเปลี่ยนแปลงลดลงจาก 13,074.339 บาท เป็น 9,700,700 บาท (ลดลงร้อยละ 25.80) อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุนมีการเปลี่ยนแปลงลดลงจาก 1.23 เป็น 1.16 (ลดลงร้อยละ 5.69) และอัตราผลตอบแทนของโครงการมีการเปลี่ยนแปลงลดลงจากร้อยละ 16.78 เป็น ร้อยละ 12.87 (ลดลงร้อยละ 23.30) และกรณีมีการเปลี่ยนแปลงด้านรายได้ลดลงร้อยละ 10 มีผลต่อเกณฑ์การพิจารณาการลงทุนของโครงการ ดังนี้ ระยะเวลาคืนทุนมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น จาก 4.47 ปี เป็น 6.10 ปี (เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.47) มูลค่าปัจจุบันสุทธิมีการเปลี่ยนแปลงลดลงจาก 13,074,339 บาท เป็น 5,992,692 บาท (ลดลงร้อยละ 54.16) อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุนมีการ เปลี่ยนแปลงลดลงจาก 1.23 เป็น 1.10 (ลดลงร้อยละ 10.56) และอัตราผลตอบแทนของโครงการมีการ เปลี่ยนแปลงลดลงจากร้อยละ 16.78 เป็น ร้อยละ 8.35 (ลดลงร้อยละ 50.20) ผลจากการทดสอบนี้ เกณฑ์การพิจารณาการลงทุนของโครงการ แสดงให้เห็นว่าโครงการมีความเป็นไปได้ในการลงทุน อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงลดลงของรายได้ของโครงการ มีผลกระทบต่อความเป็นไปได้ของ โครงการค่อนข้างมาก ดังนั้นปัจจัยด้านรายได้จึงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่มีนัยสำคัญต่อโครงที่อาจจะส่งผล กระทบต่อโครงการในเชิงลบen_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600832015 อดิพงษ์ จันต๊ะคาด.pdf22.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.