Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78136
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชยานนท์ หรรษภิญโญ-
dc.contributor.authorวรชัย ใจกาศen_US
dc.date.accessioned2023-06-24T07:26:43Z-
dc.date.available2023-06-24T07:26:43Z-
dc.date.issued2022-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78136-
dc.description.abstractThis research aims to study the behavior of synthetic fiber reinforced concrete using river gravel as coarse aggregate under impact. This research is divided into 2 parts. Part 1 studies the effects of using river gravel and 3 types of synthetic fibers, namely glass fiber, polypropylene fiber, and polyester fiber. Part 2 studied the impact behavior of concrete slabs with a carrier mixture, namely 25 MPa, 35 MPa, and 45 MPa design compressive strength. Three types of synthetic fibers were used as follows: Glass fibers, polypropylene fibers, and polyester fibers account for 0.5, 1.0, and 1.5 percent of the cement's weight, respectively. By releasing a weight of 15 kg at an initial height of 10 mm, the height is increased by 10 mm. Make an estimate of the number of times it dropped. Deflection value and energy absorption the results of the study concluded that, in Part 1, concrete using river gravel had lower mechanical properties than concrete using pebbles. When reinforced with fibers, river gravel concrete has better mechanical properties than stone-grit concrete. For synthetic fiber reinforced concrete, the sagging value of fresh concrete decreased with increasing fiber content. The compressive strength has slightly increased. Tensile strength and flexural strength were increased with fiber content, and in part 2, the impact strength was highest in river gravel concrete. contributes to the retention within the concrete where the sample is bent but still able to bear the force in the disaster to reduce the distribution of concrete parts. We discovered that polypropylene fibers at 1.0 percent are the best ingredient.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการต้านทานแรงกระแทกของพื้นคอนกรีตเสริมเส้นใย สังเคราะห์ที่ใช้กรวดแม่น้ำเป็นมวลรวมหยาบโดยการ ทดสอบปล่อยตกตุ้มน้ำหนักen_US
dc.title.alternativeImpact Resistance of Synthetic Fiber Reinforced Concrete Slab Using River Gravel as Coarse Aggregate Under Drop Weight Testen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashคอนกรีต-
thailis.controlvocab.thashการก่อสร้างคอนกรีต-
thailis.controlvocab.thashใยสังเคราะห์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มุ่งการศึกษากี่ยวกับพฤติกรรมของคอนกรีตเสริมเส้นใขสังเคราะห์ที่ใช้กรวดแม่น้ำ เป็นมวลรวมหยาบภายใต้แรงกระแทก โดยงานวิจัยนี้แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 ศึกษาผลการใช้ กรวดแม่น้ำ และเส้นใยสังเคราะห์ 3 ชนิด ได้แก่ เส้นใยแก้ว เส้นใยโพลีโพรพีลีน และ เส้นใยโพลีเอ สเตอร์ ส่วนที่ 2 ศึกษาพฤติกรรมรับแรงกระแทกของพื้นคอนกรีตที่มีตัวแปลส่วนผสม ได้แก่ กำลังอัด ออกแบบ 25 MPa 35 MPa และ 45 MPa ใช้เส้นใยสังเคราะห์ 3 ชนิด ได้แก่ เส้นใยแก้ว เส้นใยโพลีโพ รพีลีน และ เส้นใยโพลีเอสเตอร์ ปริมาณร้อยละ 0.5 1.0 และ 1.5 โดยน้ำหนักปูนซีเมนต์ โดยการ ปล่อยตุ้มน้ำหนัก 15 กก. ที่ความสูงเริ่มต้น 10 มม. เพิ่มความสูงครั้งละ 10 มม. ทำการประเมินจำนวน ครั้งที่ปล่อยตก ค่าการแอ่นตัว และการดูดซับพลังงาน ผลการศึกษาสรุปได้ว่า ในส่วนที่ 1 คอนกรีตที่ ใช้กรวดแม่น้ำมีคุณสมบัติชิงกลที่ต่ำกว่าคอนกรีตที่ใช้หินย่อย เมื่อเสริมเส้นใยทำให้คอนกรีตที่ใช้ กรวดแม่น้ำมีคุณสมบัติเชิงกลที่ดีขึ้นมากกว่าคอนกรีต ที่ใช้หินย่อย สำหรับคอนกรีตเสริมเส้นใย สังเคราะห์ค่าการยุบตัวของคอนกรีตสดมีค่าลดลงเมื่อปริมาณเส้นใยเพิ่มขึ้น ค่ากำลังรับแรงอัดเพิ่มขึ้น เล็กน้อย กำลังรับแรงดึงและแรงดัดมีค่าเพิ่มขึ้นตามปริมาณของเส้นใย และในส่วนที่ 2 กำลังรับแรง กระแทกมีค่าที่สูงสุดในคอนกรีตที่ ใช้กรวดแม่น้ำ มีส่วนช่วยในการยึดรั้งภายในเนื้อคอนกรีตซึ่ง ตัวอย่างมีการแอ่นตัวแต่ยังสามารถรับแรงได้ต่อ ในการวิบัติลดการกระจายของชิ้นส่วนคอนกรีต พบว่าเส้นใยโพลีโพรพีลีน ที่ปริมาณร้อยละ 1.0 เป็นส่วนผสมที่เหมาะสมที่สุดen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600631095 วรชัย ใจกาศ.pdf17.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.