Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78135
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพจน์ เสรีรัฐ-
dc.contributor.authorธนภัทร ธรรมสิทธิ์en_US
dc.date.accessioned2023-06-24T06:44:02Z-
dc.date.available2023-06-24T06:44:02Z-
dc.date.issued2022-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78135-
dc.description.abstractThe objective of this research is increase the service level in the traffic light control interval and find the optimum cycle time of traffic light intersection to reduce the average waiting time of the cars in the system and improve the waiting system. By, designing and simulating the situation using The Arena program for the intersection within Chiang Mai University. (Intersection, Faculty of Business Administration). Then find the appropriate traffic light, total loss time, delay and saturation flow rateto improve and develop traffic lights with reference to the HCM (Highway Capacity Manual 2010). The results application of The Arena program in simulation design and simulation can be applied to real - life situations. Then develop the built model to be more efficient as a plan to develop traffic signal management within Chiang Mai University in the future. The research results, the service level can be increased during 07.30 - 08:30 before improvement to the service level D, after the adjustment, to the service level D, during 12.00 - 13.00 before the improvement. Service D after improvement has service level C, and during 4pm - 5pm before improvement has service level D, after improvement has C service level and can reduce the average waiting time of cars that are in the system during the period 07.30 -08:30 by 21.95 %, from 12.00 -13.00 by 19.16 % and during the period 16.00 - 17.00 by 20.23 % and reduce the number of cars in the queue averaged during the period 07.30 - 08:30 by 22.62 %, during the period 12.00 - 13.00 by 19.21 % and during the period 16.00 -17.00 by 20.50 %. As well as to enhance the traffic efficiency of those who use shared routes and can be applied to traffic at other intersections. Keywords: The Arena Program, Cycle Time, Waiting Time, Queueen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโปรแกรม Arenaen_US
dc.subjectความยาวรอบสัญญาณไฟen_US
dc.subjectระยะเวลารอคอยเฉลี่ยen_US
dc.subjectระบบแถวคอยen_US
dc.titleการหารอบสัญญาณไฟจราจรที่เหมาะสมภายใน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โดยใช้เทคนิคการจำลองสถานการณ์en_US
dc.title.alternativeDetermination of Appropriate Traffic Light Cycle in Chiang Mai University by Simulation Techniqueen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashจราจร-
thailis.controlvocab.thashจราจรในเมือง-
thailis.controlvocab.thashการคำนวณเชิงตัวเลข -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์-
thailis.controlvocab.thashสัญญาณและการให้สัญญาณ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มระดับการให้บริการในการแบ่งช่วงเวลาการควบคุม สัญญาณไฟจราจร และเพื่อหารอบสัญญาณไฟจราจรที่เหมาะสมในแต่ละช่วงเวลาสำหรับการจราจร บริเวณสี่แยกไฟแดง ลดระยะเวลารอคอยเฉลี่ยของรถที่อยู่ในระบบและปรับปรุงระบบแถวคอย โดยทำการออกแบบและสร้างแบบจำลองสถานการณ์ โดยใช้โปรแกรม Arena สำหรับบริเวณสี่แยกไฟ แดงภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (สี่แยกไฟแดงคณะบริหารธุรกิจ) จากนั้นทำการหาความยาวรอบ สัญญาณไฟจราจรที่เหมาะสม เวลาสูญเสียทั้งหมด ดวามล่าช้า และอัตราการไหลอิ่มตัว ในการ ปรับปรุงและพัฒนาสัญญาณไฟจราจรเพื่อยกระดับการให้บริการที่ดีขึ้น โดยอ้างอิงตามคู่มือ HCM (Highway Capacity Manual 2010) ผลการวิจัยพบว่าการประยุกค์ใช้โปรแกรม Arena ในการออกแบบ และจำลองสถานการณ์สามารถนำมาใช้ใด้กับสถานการณ์จริง จากนั้นทำการพัฒนาตัวโมเดลที่สร้าง ขึ้นให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นแผนในการพัฒนาการจัดการสัญญาณไฟจราจรภายใน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลจากการวิจัยสามารถเพิ่มระดับการให้บริการ โดยการจัดสรรสัญญาณไฟ จราจรให้มีความเหมาะสม เพื่อให้สอดคล้องกับปริมาณรถในแต่ละช่วงเวลา จากผลการวิจัยได้ผลลัพธ์ ดังนี้ ในช่วงเวลาเร่งด่วน 07.30 - 08.30 น. ก่อนปรับปรุงมีค่าระดับการให้บริการ D หลังจากปรับปรุง มีค่าระดับการให้บริการ D, ในช่วงเวลาเร่งด่วน 12.00 - 13.00 น. ก่อนปรับปรุงมีค่าระดับการ ให้บริการ D หลังจากปรับปรุงมี่ค่าระดับการให้บริการ C และในช่วงเวลาเร่งด่วน 16.00 - 17.00 น. ก่อนปรับปรุงมีค่าระดับการให้บริการ D หลังจากปรับปรุงมีค่าระดับการให้บริการ C และสามารถลด ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยของรถที่อยู่ในระบบ ในช่วงเวลาเร่งด่วน 07.30 - 08.30 น.ได้ 21.95 %, ในช่วง เวลาเร่งด่วน 12.00 - 13.00 น. ได้ 19.16 % และในช่วงเวลาเร่งด่วน 16.00 - 17.00 น. ได้ 20.23 % อีกทั้งสามารถช่วยลดจำนวนรถที่อยู่ในแถวคอยเฉลี่ยในช่วงเวลาเร่งด่วน 07.30 - 08.30 น. ได้ 22.62 %, ในช่วงเวลาเร่งด่วน 12.00 - 13.00 น. ได้ 19.21 % และในช่วงเวลาเร่งด่วน 16.00 - 17.00 น. ได้ 20.50% รวมถึงเป็นการยกระดับประสิทธิภาพการจราจรของผู้ที่ใช้เส้นทางร่วม และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้กับการจราจรบริเวณทางแยกอื่น ๆ ได้ อีกทั้งสามารถปรับปรุงความยาวรอบสัญญาณไฟจราจรที่เหมาะสมในแต่ละช่วงเวลาเร่งด่วนได้อย่างเหมาะสม คำสำคัญ: โปรแกรม Arena, ความยาวรอบสัญญาณไฟ, ระยะเวลารอคอยเฉลี่ย, ระบบ แถวคอยen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600631054 ธนภัทร ธรรมสิทธิ์.pdf9.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.