Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78125
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนิดา สุวรรณประสิทธิ์-
dc.contributor.authorสุรัตน์ กําแพงแก้วen_US
dc.date.accessioned2023-06-23T10:16:05Z-
dc.date.available2023-06-23T10:16:05Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78125-
dc.description.abstractThe aims of the study entitled "Spatial Correlation Model Between Net Primary Productivity (NPP) and Drought Index Affected by the El Nino Phenomenon Using Remote Sensing in the Nan River Basin" are as follows: 1) to calculate the net primary productivity of the forests using remote sensing technology; 2) to calculate different types of drought index using remote sensing technology; and 3) to analyze the relationship between the net primary productivity of the forest and values from the drought index under normal conditions and during El Nino-affected periods. The data analysis was divided into two periods: November-December 2015 and January-April 2016, when severe El Nino events occurred, and November-December 2017 and January-April 2018 when conditions were normal. To calculate NPP in forest areas, the physiological model for predicting plant growth using satellite imaging (3PGs) was combined with satellite image data from Landsat-8 OLI with a pixel resolution of 30 meters. NPP levels could reflect the density of forests in the research area if they are high. In a year heavily influenced by the El Nino phenomena, the lowest value assessed from a satellite image was -6.13 in November 2015, as measured by the satellite. The highest was 6.28 in November 2017, which was a typical month. They are found predominantly in evergreen woods. This analysis considered the amount of water held in the Sirikit Dam reservoir as the physical component influencing the drop in NPP. Due to the drought value, the NPP will be diminished and dispersed when the water storage falls below 50 percent of its capacity. Due to the drought, their levels fall and distribute extensively, especially in locations below 400 meters. VHI and NDWI were calculated to determine the level of dryness in the Nan River Basin based on SPI data derived from statistical analysis of Landsat-8 OLI satellite image data. The correlation coefficient between SPI, VHI, and NDWI was unrelated. However, the positive correlation coefficient between VHI and NDWI was statistically significant. There is a relationship between the two variables in the same direction. The correlation coefficients for the years affected by the El Nino phenomena were 0.87, 0.78, 0.81, 0.81, 0.84, and 0.85 at a confidence level of 95%. The values for the typical year correlation coefficients were 0.69, 0.87, 0.73, 0.73, 0.66, and 0.72, respectively. The findings of spatial correlation analysis of NPP values with the regionally weighted regression model, VHI, and NDWI were calculated as the initial variable during El Nino's occurrence from November to December 2015 and January to April 2016. In this study, 10x10 km2 grids were utilized to investigate spatial modeling throughout the standard November-December 2017 and January-April 2018 rescarch periods. It was discovered that the correlation coefficients' directions were identical in calculating the correlation values. By cvaluating the geographical relationship (Local R-Squared (Local R')) in the Nan river basin, the grid level spatial correlation coefficient was 10x10 sq.km. during the El Nino event was found to be 0.86, 0.90, 0.87, 0.93, 0.95, and 0.95, respectively. NPP increases when VHI and NDWI index values rise. And at an altitude range of 800 to 1,400 meters. The area correlation was comparable when comparing the correlation level for cach time. Statistical analysis of image data from the Landsat-8 OLI satellite was used to construct VHI and NDWI to estimate drought severity in the Nan River Basin. The correlation coefficient between the variable SPI and the variables VHI and NDWI was determined to be unrelated. Nevertheless, the connection between VHI and NDWI was statistically significant in the positive direction. Both variables exhibit a link in the same direction. At a confidence level of 95%, the correlation coefficients for the El Nino-influenced years were 0.87, 0.78,0.81, 0.81, 0.84, and 0.85, respectively. The normal year correlation coefficients have the following values: 0.69, 0.87, 0.73, 0.73, 0.66, and 0.72. E1 Nino occurred from November to December 2015 and January to April 2016, and spatial correlation analysis of NPP values with the regionally weighted regression model, VHI, and NDWI established the starting variable. Throughout this study, typical November- December 2017 and January-April 2018 examinations, 10x10 sq.km. grid-level spatial modeling analysis was conducted. In order to calculate the correlation values, it was determined that the correlation coefficients have to point in the same direction. It was discovered that the grid level spatial correlation coefficient of 10x10 sq. km. during the E1 Nino event was 0.86,0.90, 0.87,0.93, 0.95, and 0.95, respectively, by studying the spatial relationship (Local R-Squared (Local R3)) in the Nan river basin. The values of normal situations were 0.90, 0.86, 0.77, 0.93, 0.93, and 0.88, respectively. The spatial model results in the correlation coefficient closing 1, which is highly correlated and in the same direction. In other words, the NPP tends to increase when the VHI and NDWI indices increase. In addition, the spatial correlation between 800 and 1,400 meters in altitude was comparable when comparing correlation levels for each time.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแบบจําลองความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ระหว่างค่าผลผลิตปฐมภูมิสุทธิ และค่าดัชนีความแห้งแล้งที่ได้รับอิทธิพลจากปรากฏการณ์เอลนีโญ จากการสํารวจระยะไกล ในลุ่มน้ําน่านen_US
dc.title.alternativeSpatial correlation model between Net Primary Productivity (NPP) and drought index effected by the El Nino Phenomenon using remote sensing in the Nan River Basinen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashภูมิสารสนเทศศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashเอลนีโญ-
thailis.controlvocab.thashลุ่มน้ำน่าน-
thailis.controlvocab.thashทรัพยากรป่าไม้-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษา "แบบจำลองความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ระหว่างค่าผลผลิตปฐมภูมิสุทธิและค่าดัชนีความแห้ง แล้งที่ได้รับอิทธิพลจากปรากฏการณ์เอลนีโญ จากการสำรวจระยะไกล ในลุ่มน้ำน่าน" มีวัตถุประสงค์ ทั้งหมด 3 ประการ คือ 1) เพื่อคำนวณค่าผลผลิตปฐมภูมิสุทธิของป่าไม้ ด้วยเทคโนโลยีการสำรวจ ระยะไกล 2) เพื่อคำนวณค่าดัชนีความแห้งแล้งชนิดต่างๆ ด้วยเทคโนโลขีการสำรวจระยะไกล 3) เพื่อ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างค่าผลผลิตปฐมภูมิสุทธิของป่าไม้และค่าจากคัชนีความแห้งแล้ง ใน สภาวะปกติกับช่วงเวลาที่ได้รับอิทธิพลจากปรากฏการณ์เอลนีโญโดยได้ดำเนินการศึกษาของข้อมูล เป็นออกเป็น 2 ช่วงเวลาคือ เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2558 และเดือนมกราคม-เมษายน 2559 ที่เกิด ปรากฏการณ์เอลนีโญระดับรุนแรง และในช่วง เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2560 และเดือนมกราคม- เมษายน 2561 ที่เป็นสภาวะปกติ การหาก่า NPP ของป่าไม้ที่ได้รับอิทธิพลจากปรากฎการณ์เอลนีโญ จากการ สำรวจระยะไกล พื้นที่อุ่ม น้ำน่าน พบว่าในพื้นที่ป่าไม้ที่มีปริมาณค่า NPP ที่สามารถบ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้ใน พื้นที่ศึกษาได้นั้นพบว่า ค่าต่ำสุดที่วิเคราะห์ได้จากข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียม Landsar-8 OLI อยู่ ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2558 เป็นปีที่ได้รับอิทธิพลจากปรากฏการณ์เอลนีโญอย่างรุนแรงมีค่าเท่ากับ -6.13 และปริมาณ NPP ที่มีค่ามากที่สุดอยู่ในช่วงเดือนพฤสจิกายน 2560 ซึ่งเป็นปีที่มีเหตุการณ์ปกติมี ค่าเท่ากับ 6.28 โดยส่วนใหญ่จะพบบริเวณป้าไม่ผลัดใบ ปัจจัยกายภาพที่มีผลต่อการลดลงของค่า NPP ที่นำมาร่วมวิเคราะห์ในครั้งนี้คือปริมาณน้ำกักเก็บของอ่างเก็บน้ำเขื่อนสิริกิติ์ เมื่อมีปริมาณน้ำกักเก็บน้อยกว่าร้อยละ 50 ของความจุ ค่า NPP รอบอ่างเก็บน้ำ โดยเฉพาะบริเวณที่มีความสูงต่ำกว่า 400 เมตร จะมีค่าลดลงและกระจายตัวเป็นวงกว้างอันมีผลเนื่องมาจากความแห้งแล้งที่เกิดขึ้น การหาค่าผลลัพธ์ของค่า SPI เพื่อตรวจสอบระดับความแห้งแล้งในพื้นที่อุ่มน้ำน่าน และหาค่า VHI และ NDWI โดยใช้ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียม Landsat-8 OLI เมื่อนำไปวิเคราะห์ทางสถิติ พบว่าค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวเปร ของค่า SPI ไม่มีความสัมพันธ์กับค่า VHI และ NDWI แต่ ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของค่า VHI และ NDWI มีระดับนัยสำคัญทางสถิติในทิศทางที่เป็นบวก คือมีทิศทางความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันของตัวเแปรทั้งสองตัว ที่ระดับความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 โดยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ในปีที่ได้รับอิทธิพลจากปรากฎการณ์เอลนี โญ มีค่า 0.87, 0.78, 0.81, 0.8 1 0.84 และ 0.85 ตามลำดับ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ที่เป็นปีปกติ มีค่า 0.69, 0.87, 0.73, 0.73, 0.66 และ 0.72 ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ของค่า NPP ด้วยแบบจำลองถดถอยเชิงเส้นแบบถ่วงน้ำหนัก เชิงภูมิศาสตร์ โดยกำหนดให้คำาดัชนีความอุดมสมบูรณ์ของพืชพรรณและค่าคัชนีความแตกต่างของ ความชื้นเป็นปัจจัยทางกายภาพ หรือตัวแปรต้น ในช่วงเดือนพฤศจิกายน-ชันวาคม 2558 และเดือน มกราคม-เมยายน 2559 ที่เกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ ระดับรุนแรงมาก และในช่วง เดือนพฤศจิกายน- ธันวาคม 2560 และเดือนมกราคม-เมยายน 2561 ที่เป็นสภาวะปกติ การศึกยาครั้งนี้ได้ทำการวิเคราะห์ การหาแบบจำลองเชิงพื้นที่ที่ระดับกริด 10x10 ตร.กม. เพื่อให้ได้มาซึ่งค่าความสัมพันธ์พบว่าค่ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีทิศทางไปในทางเดียวกัน โดยจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ (Local R-Squared (Local R) ในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านพบว่า ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงพื้นที่ระดับกริด 10x10 ตร.กม. ในช่วงที่เกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ มีค่าเท่ากับ 0.86, 0.90, 0.87, 0.93, 0.95 และ 0.95ตามลำดับ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงพื้นที่ระดับกริด 10x 10 ตร.กม. ที่เป็นสภาวะปกติ มีค่าเท่ากับ 0.90, 0.86, 0.77, 0.93, 0.93 และ 0.88 ตามลำดับ โดยแบบจำลองเชิงพื้นที่ให้ผลลัพธ์ของค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์มีค่าเข้าใกล้ 1 ซึ่งมีความสัมพันธ์กันมากและไปในทิศทางเดียวกันกล่าวได้ว่าค่า NPP จะ เพิ่มขึ้นเมื่อค่ดัชนี VHI และค่าดัชนี NDWI มีค่าเพิ่มขึ้น และในพื้นที่ที่ระดับความสูง 800-1,400 เมตร ความสัมพันธ์ของพื้นที่จะมีค่าใกล้เคียงกันเมื่อเปรียบเทียบระดับค่าความสัมพันธ์ของแต่ละช่วงเวลาen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600431038 สุรัตน์ กำแพงแก้ว.pdf14.75 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.