Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78115
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วันเพ็ญ เจริญตระกูลปีต | - |
dc.contributor.advisor | อัจฉรา วัฒนภิญโญ | - |
dc.contributor.author | จารุพร นุแปงถา | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-22T10:31:44Z | - |
dc.date.available | 2023-06-22T10:31:44Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78115 | - |
dc.description.abstract | Mae Khao river represents the harmony of the river and the diversity of areas, people, communities, and cultures, which change over time causing water pollution problems in the area. The study aims to discover the Mae Khao environment by considering the dependence of the river on the Urban and Peri-urban areas, social capital analysis and management, and the practical process to improve water conditions in order to establish the regulations of water management for sustainable water use of the communities. The research applies a mixed method by interviewing sampling 389 residents and the community leaders. The result of the dependence on the river of the respondents living in the urban and peri- urban areas showed those in both areas use water for provisioning services and cultural services, which are different from what it used to be in the past, mainly because of the water pollution, land use change, and cultural changes. The analysis of the level of social capital showed that the respondents of both are eas are in the middle level. In terms of networks, in both urban and semi-rural areas, people tried to accumulate within the community to manage Mae Khao water which is a link at the community level. The agglomeration of communities have been established from one sub district to another, and from one village to another even though they are located in different sub-districts. Local government departments support budgets and equipment to solve the problem. However, the connections still be individual local management and are not considered as a river basin network, since they lack consistency and pattern to manage the water. This shows that the communities are vulnerable to effectively executing water management as a network.The management approach for the Mae Khao river community of both urban and peri-urban areas is to set up a board of committees, extend the network from community level to river basin level and enforce the water management regulation of Mae Khao, Chiang Mai. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ภูมิศาสตร์ของทุนทางสังคมในการจัดการน้ำเสียในลำน้ำแม่คาว จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Geographies of social capital in water pollution management in Mae Khao River, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | มลพิษทางน้ำ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การอนุรักษ์ทรัพยากรทางน้ำ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน | - |
thailis.controlvocab.thash | แม่น้ำคาว | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ลำน้ำแม่คาวแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของลำน้ำกับความหลากหลายของพื้นที่ ของ กลุ่มคน ของชุมชนและกิจกรรม ที่เปลี่ยนผ่านตามกาลเวลา จนเกิดปัญหามลพิษทางน้ำในพื้นที่ การศึกษานี้จึงมีเป้าหมายเพื่อค้นคว้าบริการระบบนิเวสลำน้ำแม่คาว โดยพิจารณาถึงการพึ่งพาระบบ นิเวศลำน้ำบนความหลากหลายของพื้นที่เมืองและพื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบทที่มีความแตกต่างกัน และ วิเคราะห์ทุนทางสังคมในการจัดการผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงเชื่อมโยงแนวทางการปฏิบัติที่ดี ในการจัดการน้ำเสีย เพื่อการสร้างกฎระเบียบและข้อตกลงร่วมกันในการจัดการทรัพยากรน้ำในลำน้ำ แม่คาว เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์ลำน้ำโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน ด้วยการสอบถามประชากรที่อยู่อาศัยใกล้ลำน้ำ จำนวน 389 คน และการสัมภายณ์ผู้นำชุมชน ผลการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับบริการระบบนิเวศบนพื้นที่เมืองและพื้นที่กึ่งเมือง กึ่งชนบทที่ลำน้ำแม่คาวไหลผ่าน พบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งสองพื้นที่มีการใช้ประโยชน์จากลำน้ำ ทั้งบริการค้านการเป็นแหล่งผลิตและบริการด้านวัฒนธรรม และพบการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ ที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต โดยมีสาเหตุคือการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำ การเปลี่ยนแปลง การใช้ประโยชน์ที่ดิน และการเปลี่ยนแปลงรูปแบบวิถีชีวิต ผลการศึกษาระดับทุนทางสังคม พบว่า ทุนทางสังคมพื้นฐานของชุมชนทั้งในพื้นที่เมืองและ พื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบท อยู่ในระดับปานกลาง ในส่วนของเครือข่ายพบว่าทั้งในพื้นที่เมืองและ พื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบท มีการรวมตัวกันของคนในชุมชนในการจัดการน้ำแม่คาวที่เป็นการเชื่อมโยงใน ระดับชุมชน โดยการรวมตัวกันของชุมชนในตำบลหนึ่ง เพื่อช่วยกันทำกิจกรรม หรือหมู่บ้านหนึ่งกับ อีกหมู่บ้านหนึ่งแม้จะอยู่คนละตำบล หรือคนละอำเภอ โดยหน่วยงานท้องถิ่น คือเทศบาล และองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีบทบาทในการสนับสนุนงบประมาณและเครื่องมือ รวมถึงการเป็นผู้นำ ในการดำเนินกิจกรรม แต่การเชื่อมโยงดังกล่าวเป็นการเชื่อมโยงกันในพื้นที่นั้นเป็นเอกเทศในระดับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่ได้เป็นไปในลักษณะของเครือข่ายลำน้ำ ทำให้เกิดความไม่ต่อเนื่อง และไม่เป็นระบบในรูปแบบเครือข่ายการจัดการน้ำ ปัญหาดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าชุมชนทั้งในพื้นที่ เมืองและพื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบทมีความเปราะบาง คือ ขาดความสามารถในการดำเนินการร่วมกันใน การจัดการน้ำเสียอย่างเป็นเครือบ่าย แนวทางการจัดการน้ำแม่คาว จากการมีส่วนร่วมของตัวแทนชุมชนทั้งในพื้นที่เมืองและ พื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบท คือ ควรให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการในการบริหารจัดการลำน้ำแม่คาว โดยเชื่อม โขงคณะกรรมการในระดับชุมชนเป็นเครือข่ายในระดับลุ่มน้ำ และการบังกับใช้กฎระเบียบ ในการจัดการน้ำแม่คาว จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600431035 จารุพร นุแปงถา.pdf | 15.83 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.