Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78110
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดำรงศักดิ์ รินชุมภู | - |
dc.contributor.advisor | พีรพงศ์ จิตเสงี่ยม | - |
dc.contributor.author | สัตยา มะโนแก้ว | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-22T01:31:34Z | - |
dc.date.available | 2023-06-22T01:31:34Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78110 | - |
dc.description.abstract | At present, building physical resource management is important building management and maintenance for efficient building management and stepping into the elevation of city administration to be a smart city. In Thailand, the Ministry of Digital Economy and Society (MDES) drives and develops smart cities in the country. Chiang Mai is considered one of the first seven provinces in that MDES has developed plans to fight smart cities. It planned to focus on tourism promotion Smart farming model for agriculture and organized the city health project. Meanwhile, Chiang Mai University is one of the leading organizations in the region with the readiness and potential to help drive smart city policy. In this regard, Chiang Mai University has developed the development Plan Phase 12, which is the first time promotion the proactive strategy of environmental and energy innovation. This plan aims to lead the design smart city development master plan. Moreover, the university has set the main operating directions in pursuing the Sustainable Development Goals (SDGs). Thus, for those convinced of the need to combine many buildings and physical information for resource management purpose. The tool could be on a platform the 3D geographic information system model and the internet of things (IoT), creating a platform where information can be collected and analyzed in real-time can effectively help executives. However, various limitations in collecting data from a large university area may take a lot of time and budget, and this study was the initial development of the system. Furthermore, the entire campus area may not be required as a study area. Therefore, the Faculty of Engineering was chosen as the model to create and develop a digital twin model initially. The study process starts with collecting building’s physical data and creating 3D building model. The next step is to bring the data into a platform that merges the data. The last step is to create a channel to access information for further management purpose. The result is a 3D model of all buildings within the Faculty of Engineering and the necessary geographic information. This research found that the total usable area of the building was 88,633.14 square meters, and the surrounding area was 126,614.04 square meters, with a total of 85 species of plants and 743 trees. Data are used to present the 3d models of buildings and surrounding areas of the Faculty of Engineering in the pattern. This result positively affects managing the building's physical resources and the developing a 3D visualization system of building resource information. It is a prototype of a digital twin. It will combine of 3D building information modeling (BIM), geographic information (GIS), sensor and IoT connection, artificial intelligence (AI) and management (Web portal). Together, it creates an operation between actual data and virtual data. This research is the work of BIM, integrate with GIS, and brings the information to the preliminary website. To account for the connection steps in detail and to serve as a model for further development of building physical data management. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การแสดงมโนภาพ | en_US |
dc.subject | 3D | en_US |
dc.title | การพัฒนาระบบการแสดงมโนภาพของข้อมูลทรัพยากรอาคารแบบสามมิติสำหรับคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม | en_US |
dc.title.alternative | Development of 3D building facility information visualization system for faculty of Engineering, Chiang Mai University | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะวิศวกรรมศาสตร์ -- อาคาร | - |
thailis.controlvocab.thash | อาคาร -- เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ในปัจจุบันการบริหารทรัพยากรกายภาพอาคาร มีความสำคัญต่อกระบวนการจัดการและบำรุงรักษาอาคารทำให้สามารถบริหารอาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ และก้าวเข้าสู่การยกระดับการบริหารเมืองให้เป็นเมืองอัจฉริยะ โดยในประเทศไทยได้มีกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม(Ministry of Digital Economy and Society: MDES) ได้ผลักดันและพัฒนาเมืองอัจฉริยะภายในประเทศ โดยจังหวัดเชียงใหม่ถือเป็น 1 ใน 7 จังหวัดแรก ที่หน่วยงาน MDES มีแผนการพัฒนาให้ก้าวสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ ซึ่งมีแผนมุ่งเน้นการส่งเสริมการท่องเที่ยว การทำฟาร์มอัจฉริยะต้นแบบให้กับเกษตร และจัดทำโครงการเชียงใหม่เมืองสุขภาพ มทาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นอีกหนึ่งองค์กรชั้นนำในระดับภูมิภาค ที่มีความพร้อมและศักยภาพในการช่วยผลักตันนโยบายเมืองอัจฉริยะ โดยการผสมผสานองค์ความรู้มากมาย ได้แก่ การบริหารทรัพยากรกายภาพอาคาร ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์แบบงจำลองสามมิติ และอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง เพื่อสร้างแพลตฟอร์มที่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ได้แบบเวลาจริง ซึ่งจะสามารถช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้จัดทำแผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 12 โดยมียุทธศาสตร์ ที่ 1 เชิงรุก เกี่ยวกับบวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานนำไปสู่การออกแบบ "แผนแม่บทการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU Smart City-Clean Energy) อีกทั้งมหาวิทยาลัยได้กำหนดทิศทางการดำเนินงานหลักของในการมุ่งสู่เป้าหมายของการพัฒนาอย่างยั่งยืน(Sustainable Development Goals: SDGs) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากข้อจำกัดต่าง ๆ ในการเก็บข้อมูลจากพื้นที่ของมหาวิทยาลัยที่มีขนาดใหญ่ อาจต้องใช้ระยะเวลาและงบประมาณจำนวนมาก ซึ่งการศึกษานี้เป็นการพัฒนาระบบในขั้นต้น อาจไม่จำเป็นต้องใช้พื้นที่ทั้งหมดของมหาวิทยาลัยเป็นพื้นที่ศึกษา ดังนั้นจึงทำการเลือกคณะวิศวกรรมศาสตร์เป็นต้นแบบในการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง คู่แฝดติจิทัลในขั้นต้น โดยมีขั้นตอนในการศึกษาเริ่มจากการเก็บรวบรวมข้อมูลทางกายภาพและสร้างแบบจำลองสามมิติ ขั้นตอนต่อมาคือการนำข้อมูลเข้าสู่แพลตฟอร์มที่รวบรวมข้อมูลทางกาย และขั้นตอนสุดท้ายทำการสร้างช่องทางการเข้าถึงข้อมูล สำหรับบริหารจัดการ ผลที่ได้คือแบบจำลองสามมิติอาคารภายในคณะวิศวกรรมศาสตร์ทั้งหมดและข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ พบว่าพื้นที่มีใช้สอยอาคารทั้งหมด 88,633.14 ตารางเมตร และพื้นที่โดยรอบ 126,614.04 ตารางเมตร มีจำนวนพันธุ์ไม้ทั้งหมด 85 สายพันธุ์ และจำนวนต้นไม้ 743 ต้น ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะถูกนำเสนอเป็นภาพรวมของแบบจำลอง 3 มิติของอาคารและพื้นที่ โดยรอบคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งส่งผลดีต่อการบริหารทรัพยากรกายภาพอาคารเป็นอย่างมาก อีกทั้งการพัฒนาระบบการแสดงมโนภาพของข้อมูลทรัพยากรอาคารแบบสามมิติ เป็นเพียงต้นแบบของคู่แฝดดิจิทัล (Digital (twin) ซึ่งจะรวมองค์ความรู้ในด้านแบบจำลองสามมิติ (BIM) ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) การเชื่อมต่อเซ็นเซอร์ (LoT) การใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI) และการแสดงผลข้อมูลเพื่อบริหาร จัดการ (Web portal) เข้าด้วยกัน สร้างเป็นการทำการระหว่างข้อมูลจริงและข้อมูลเสมือน โดยงานวิจัยนี้เป็นการทำงานในส่วนของ BIM รวมกับ GIS และนำข้อมูลสู่เว็บไซต์เบื้องต้นเท่านั้น เพื่อให้เหตุถึงการเชื่อมต่อขั้นในขั้นตอนต่างๆ อย่างละเอียด และเป็นต้นแบบของการพัฒนาการบริหารข้อมูลทางกายภาพอาคารต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630631032 สัตยา มะโนแก้ว.pdf | 14.7 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.