Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78097
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานพ แก้วโมราเจริญ-
dc.contributor.authorรัชชานนท์ มาสุวรรณen_US
dc.date.accessioned2023-06-21T09:47:01Z-
dc.date.available2023-06-21T09:47:01Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78097-
dc.description.abstractIn a building construction project, inspection of the installation of the main electrical system and main electrical room to verify that the electrical system in this project can run correctly and safely for building users is needed. Generally, a 2D drawing and onsite inspection by the relevant staff are using. If the project electrical installation does not comply with Thai Electrical Code standard, it will be charged by cost and takes longer time to fix this problem. Therefore, a prototype BIM-Based automatic checking tools has been developed. Visual programming language script from Autodesk Revit Dynamo for automatic inspection through a 3D BIM Shop was used to drawing of MDB room. It helps determining the width and the depth of the operating space of the low voltage switchboard in MDB room which is the one of the standards of the installing consideration within the project. From a script run through Dynamo Player, the inspection is displayed as an Excel spreadsheet file that identifies the panel name, the Element ID, the inspection result message, and the distance of the operating space. After the development of the tools was completed, there was a group interview with engineer about the use of tools. As a result, the tools are suitable for the design phase of project as it can be used to design preliminary electrical rooms and coordinate with other department, the tools can also be used to make electrical construction drawings before installing the actual work if further developed to reduce limitations and improve the inspection results. As for the Electricity Authority see that no need to use the tools in the agency. However the Electricity Authority has trust and support in the concept of developing of the tools but it needs to be further developed to have more electrical standards and cover application in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแบบจำลองสารสนเทศอาคารnen_US
dc.subjectเครื่องมือตรวจสอบกฎอัตโนมัติen_US
dc.subjectมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทยen_US
dc.subjectการเขียนโปรแกรมด้วยภาพen_US
dc.subjectงานก่อสร้างอาคารen_US
dc.titleการพัฒนาเครื่องมือตรวจสอบอัตโนมัติสำหรับแบบจำลองสารสนเทศอาคารกับมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ.2564 สำหรับห้องไฟฟ้าหลักในงานก่อสร้างอาคารen_US
dc.title.alternativeDeveloping BIM-based automatic checking tools with Thai electrical code 2021 for main electrical room in building constructionen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashวงจรไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashการเดินสายไฟ-
thailis.controlvocab.thashเครื่องมือเครื่องใช้ไฟฟ้า -- การติดตั้ง-
thailis.controlvocab.thashอาคาร -- อุปกรณ์ไฟฟ้า-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในโครงการก่อสร้างอาคารจะมีการตรวจสอบการติดตั้งงานระบบไฟฟ้าภายในห้องไฟฟ้าหลักเพื่อยืนยันว่าระบบไฟฟ้าภายในโครงการสามารถทำงานได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยกับผู้ใช้งานในอาคาร โดยในการตรวจสอบเดิมจะมีการใช้แบบ 2 มิติและการตรวจสอบหน้างานโดยวิศวกร หากการติดตั้งระบบไฟฟ้าภายในโครงการไม่ถูกต้องตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าจะทำให้เกิดค่าใช้จ่ายและเวลาในการแก้ไขการติดตั้งงานระบบไฟฟ้ามากขึ้น จึงเกิดแนวคิดในการพัฒนาเครื่องมือต้นแบบเพื่อตรวจสอบอัตโนมัติผ่านแบบจำลองสารสนเทศอาคารโดยเขียนสคริปต์จากโปรแกรม Revit Dynamo ตรวจสอบแบบจำลองสารสนเทศห้องไฟฟ้าหลักจำลองการติดตั้งตู้ควบคุมไฟฟ้าแรงต่ำ (MDB) ภายในห้องไฟฟ้าหลักของโครงการ โดยเครื่องมือจะตรวจสอบความกว้างและความลึกของที่ว่างเพื่อปฏิบัติงานของตู้ควบคุมไฟฟ้าแรงต่ำภายในห้องไฟฟ้าหลักของอาคารซึ่งเป็นหนึ่งในสิ่งที่ใช้พิจารณาในการตรวจสอบการติดตั้งระบบไฟฟ้าในโครงการ มีการแสดงผลการตรวจสอบเป็นไฟล์ Excel ที่ระบุชื่อตู้ Element ID ข้อความผลการตรวจสอบและระยะที่ตรวจสอบได้ จากการรันสคริปต์ผ่าน Dynamo Player ซึ่งหลังจากพัฒนาเครื่องมือเสร็จสิ้นได้สาธิตการใช้งานเครื่องมือและประเมินการใช้งานเครื่องมือโดยกลุ่มวิศวกรตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ออกแบบ ผู้รับเหมา ผู้ควบคุมงาน และการไฟฟ้า ได้ผลว่าเครื่องมือเหมาะสำหรับงานโครงการในช่วงการออกแบบเพราะใช้ออกแบบห้องไฟฟ้าเบื้องต้นและประสานงานกับส่วนงานอื่นๆ ได้ อีกทั้งสามารถนำมาช่วยทำแบบก่อสร้างห้องไฟฟ้าก่อนติดตั้งงานจริงถ้าหากพัฒนาต่อยอดลดข้อจำกัดและปรับปรุงการแสดงผลการตรวจสอบแล้ว ในส่วนการไฟฟ้ามองว่ายังไม่มีความจำเป็นต้องใช้เครื่องมือดังกล่าวในหน่วยงาน แต่มีความเชื่อถือและสนับสนุนในแนวคิดของการพัฒนาเครื่องมือดังกล่าว แต่ต้องมีการพัฒนาต่อยอดต่อไปเพื่อให้มีมาตรฐานที่มากขึ้นและครอบคลุมการใช้งานต่อไปในอนาคตen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640632063-รัชชานนท์ มาสุวรรณ.pdf8.42 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.