Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78076
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พจนา พิชิตปัจจา | - |
dc.contributor.author | กานต์ชนิต สุตาคำ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-19T01:30:08Z | - |
dc.date.available | 2023-06-19T01:30:08Z | - |
dc.date.issued | 2021-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78076 | - |
dc.description.abstract | The purpose of “Development of the Elderly Learning Ecosystem: A Case Study of Tung Phee Subdistrict Administrative Organization, Mae Wang District, Chiang Mai Province” was to improve the learning ecosystem for elderly in Tung Phee Subdistrict Administrative Organization, which is located in Mae Wang District, Chiang Mai Province. The research was qualitative with the specific area of study, which was Village Number 11 of Tung Pa Kha Nuea, Tung Phee Subdistrict Administrative Organization, Mae Wang District, Chiang Mai Province. The primary informants were officers of the Subdistrict Administrative Organization, government officers in the Subdistrict, community leaders, citizens, social groups, community organizations, and elderly. The study showed that the learning ecosystem of elderly in Village Number 11, Tung Phee Subdistrict could be divided into three main parts. The first one was factors learning utilities or learning environment. The second factor was conditions of the learning ecosystem. The last part was activities supporting the learning process of elderly in Village Number 11 Tung Pa Kha Nuea, Tung Phee Subdistrict. These factors supporting the learning process and the learning atmosphere had many forms of production mechanism including co-commissioning which consisted of co-planning, co-prioritization, co-finance, and co-design. Co-delivery was also included, consisting of co management, and co-performing, leading to 12 activities supporting the learning process of elderly in Village Number 11, Tung Phee Subdistrict. Those activities were Elderly School, House Calls ช and Health Services Based on Necessity for Elderly, Public Health Based Seminar for Elderly Related Personnel, Public Health in Terms of Medical Treatment Services for Elderly, Rehabilitation for Elderly and Disabled People, Career and Expense Reduction Training for Elderly, Career Fund and Relief for Elderly, Emergency Savings for Elderly, Elderly Gatherings, Traditional, Cultural and Religious Activities for Elderly, Home Improvement to Facilitate Elderly’s Lifestyle, and Waste Sorting and Organic Fertilizer Production. These were made under three conditions of learning ecosystem which were supportive learning, atmosphere supporting diverse learning methods for elderly, and driving force of learning process through organization’s visions and missions. Each activity led to learning dimensions including economic, social, and static dimensions, leading to four lifetime goals of learning process, consisting of to acknowledge, to practice, to become and to co-exist distinctively. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | en_US |
dc.subject | ระบบนิเวศการเรียนรู้ | en_US |
dc.title | การพัฒนาตัวแบบระบบนิเวศการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งปี๊ อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Development of the elderly learning ecosystem: a case study of Tung Phee subdistrict Administrative Organization, Mae Wang District, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ผู้สูงอายุ – เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ระบบนิเวศการเรียนรู้ -- เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้เรื่อง การพัฒนาตัวแบบระบบนิเวศการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ องค์การบริหารส่วน ตำบลทุ่งปี๊ อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวแบบระบบนิเวศการเรียนรู้ สำหรับผู้สูงอายุในองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งปี๊ อำภอแม่วาง จังหวดัเชียงใหม่โดยงานวิจยันี้เป็น งานวิจยัเชิงคุณภาพ โดยเลือกพื้นที่ในการศึกษาแบบเจาะจงคือ หมู่ที่11 บา้นทุ่งป่าคาเหนือองค์การ บริหารส่วนตำบลทุ่งปี๊ อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ มีผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ กลุ่มบุคลากรองค์การ บริหารส่วนตำบลทุ่งปี๊กลุ่มหน่วยงานภาครัฐในตำบล กลุ่มผู้นำชุมชน กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน และภาค ประชาชน กลุ่มทางสังคม และองค์กรชุมชน และผู้สูงอายุ ผลการศึกษาพบว่า ระบบนิเวศการเรียนรู้ของผู้สูงอายุหมู่ที่ 11 ต าบลทุ่งปี๊ สามารถแบ่งได้เป็น 3 ส่วนหลกั คือ ส่วนที่1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และบรรยากาศสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ส่วนที่ 2 เงื่อนไขของนิเวศการเรียนรู้ ส่วนที่ 3 กิจกรรมเพื่อสร้างการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในหมู่ที่ 11 บ้านทุ่งป่า คาเหนือ ตำบลทุ่งปี๊ซ่ึงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และบรรยากาศสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เหล่านี้จะมี กลไกการผลิตร่วมในรูปแบบต่างๆ ทั้งการสร้างแนวทางการให้บริการร่วมกัน ซึ่งประกอบด้วย การร่วมวางแผน การร่วมพิจารณาตัดสินใจ การร่วมลงทุนทางการเงิน และการร่วมออกแบบบริการ รวมไปถึงการร่วมดำเนินการส่งมอบบริการ ซึ่งประกอบด้วย การจัดการร่วมของบริหารจัดการ และ การให้บริการร่วมกัน ทำให้เกิดกิจกรรมที่สร้างการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในหมู่ที่ 11 ต าบลทุ่งปี๊ ได้ ทั้งหมด 12กิจกรรม คือกิจกรรมโรงเรียนผูสู้งอายุกิจกรรมการลงพ้ืนที่ดูแลและจัดบริการสุขภาพ ตามความจำเป็นให้กับผู้สูงอายุ กิจกรรมการอบรมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุในด้านสาธารณสุข กิจกรรมการให้บริการด้านสาธารณสุขด้านการรักษาพยาบาลให้กับผู้สูงอายุกิจกรรมการฟื้นฟู สมรรถภาพของผู้สูงอายุ/ผู้พิการ กิจกรรมการฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมอาชีพและลดรายจ่ายของผู้สูงอายุ กิจกรรมการสนับสนุนทุนเพื่อประกอบอาชีพ หรือบรรเทาความเดือดร้อนของผู้สูงอายุ กิจกรรมการ เก็บออมเงินเพื่อใช้ในยามจำเป็นของผู้สูงอายุ กิจกรรมการรวมกลุ่ม พบปะสังสรรค์ของผู้สูงอายุ กิจกรรมทางประเพณีวัฒนธรรมและศาสนาของผูสู้งอายุกิจกรรมการปรับสภาพบา้นเพื่อให้เอื้อต่อ การดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ และกิจกรรมการคัดแยะขยะและท าปุ๋ยอินทรีย์ ภายใต้3 เงื่อนไขของนิเวศ การเรียนรู้คือการเรียนรู้ที่เก้ือกูลซึ่งกันและกัน สภาพแวดลอ้มที่สร้างวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลายให้กับ ผู้สูงอายุและการขับเคลื่อนการเรียนรู้ผ่านพันธกิจ เป้าหมายขององค์กร โดยในแต่ละกิจกรรมนั้น นำไปสู่มิติของการเรียนรู้ท้ังในมิติสุขภาพ มิติเศรษฐกิจ มิติสังคม และมิติสภาวะ และนำไปสู่ เป้าหมายของการเรียนรู้ตลอดชีวิต 4 ประการ คือ เรียนเพื่อรู้ เรียนเพื่อปฏิบัติ เรียนเพื่อที่จะเป็น เรียน เพื่อที่จะอยู่ร่วมกัน ที่แตกต่างกัน | en_US |
Appears in Collections: | POL: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621931001 กานต์ชนิต สุตาคำ.pdf | 5.12 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.