Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78052
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิชาต โสภาแดง-
dc.contributor.authorณัฐณิชา ไชยคำen_US
dc.date.accessioned2023-06-15T00:56:43Z-
dc.date.available2023-06-15T00:56:43Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78052-
dc.description.abstractThis research aims to improve the overall effectiveness of the machine for products cleaning. There is one of the four least overall effective machine was select. Machines with low overall effectiveness can lead to problems; lost time, lost production volume, lost production cost, and effect the product delivery lead time. The data were analysis before improvement with an examination sheet, Pareto chart, graph, cause and effect diagram and brainstorming. The result showed that the parameters with low values were the availability and performance efficiency. Solutions for the problem selected was as preventive maintenance to improve the machine’s readiness and prevent the machine breakdown. After implementation, the result showed that %availability increased from 74.8% to 98.3%, %performance efficiency increased from 70.6% to 77.8% and % OEE increased from 52.1% to 75.5%, achieved target. Moreover, idle time decreased 84 hours per year, production volume increased 389,304 pcs per year and cost saved 1,121,130 THB per year.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectOverall Equipment Effectiveness, Preventive Maintenanceen_US
dc.titleการปรับปรุงค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรสำหรับล้างชิ้นงานen_US
dc.title.alternativeImprovement of overall equipment effectiveness of machine for product cleaningen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเครื่องจักรกล-
thailis.controlvocab.thashเครื่องจักรกล -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรสำหรับล้างชิ้นงาน โดยเลือกศึกษาเครื่องจักรที่มีค่าประสิทธิผลโดยรวมต่ำที่สุด 1 เครื่องจากทั้งหมด 4 เครื่อง ซึ่งการที่เครื่องจักรมีค่าประสิทธิผลโดยรวมต่ำส่งผลทำให้มีเวลาสูญเปล่า สูญเสียยอดการผลิตและสูญเสียต้นทุนการผลิต โดยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลก่อนการปรับปรุงด้วย ใบตรวจสอบ กราฟ แผนภาพพาเรโต แผนผังเหตุและผล และการระดมสมอง พบว่าตัวแปรที่มีค่าต่ำ คือ อัตราการเดินเครื่องและประสิทธิภาพการเดินเครื่อง กำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาโดยเลือกใช้การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน เพื่อเพิ่มความพร้อมใช้งานของเครื่องจักรและป้องกันการหยุดเครื่องจักรเพื่อแก้ไขปัญหา ผลการดำเนินการหลังการปรับปรุงพบว่าอัตราเดินเครื่องเพิ่มขึ้นจาก 74.8% เป็น 98.3% ประสิทธิภาพการเดินเครื่องเพิ่มขึ้นจาก 70.6% เป็น 77.8% และส่งผลให้ประสิทธิผลโดยรวมเพิ่มขึ้นจาก 52.1% เป็น 75.5% สามารถลดเวลาเดินเครื่องเปล่าลงได้ทั้งหมด 84 ชั่วโมงต่อปี สามารถเพิ่มผลิตชิ้นงานได้เพิ่มขึ้น 389,304 ชิ้นต่อปี นอกจากนี้ยังสามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตที่เกิดจากการเดินเครื่องเปล่าได้ 1,121,130 บาทต่อปีen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640632067-ณัฐณิชา ไชยคำ.pdf5.4 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.