Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78047
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธันยวัฒน์ รัตนสัค-
dc.contributor.authorอัครพสิษฐ์ หิรัญกุลพงศ์en_US
dc.date.accessioned2023-06-14T11:04:34Z-
dc.date.available2023-06-14T11:04:34Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78047-
dc.description.abstractThis study aimed to (1) investigate the opinions of staff towards the development of information system and (2) study the development guideline of e-Army of the Ordnance Department, Royal Thai Army - 33rd Military Circle, Chiang Mai Province. For data collection, 20 staff and 3 administrators were requested to reply to the survey form. The in-depth interview, with open-ended questions, was done to acquire more details related to the research objectives. The results revealed that the most important stage to develop the information system (e-Army) was the testing phase. So, the users could reflect on their opinions which would later help reduce the system's errors. Also, the staff responsible to the system could operate the system efficiently. The researcher pondered this result thoughtfully and would like to suggest several approaches for developing the e-Army system of the Ordnance Department, Royal Thai Army - 33rd Military Circle, Chiang Mai Province. Firstly, the goals, objectives, and importances of the e-Army should be clarified, so everyone in the unit could have a better understanding. Secondly, the up-skill training should be conducted as well as the work process should be reviewed. Thirdly, the communication with staff should be improved so that they could cooperate with others more efficiently. Next, the work process should be inspected continuously so the staff could work accurately. Besides, the problems of system delay should be improved so that it could be operated quickly and simultaneously. Lastly, the staff responsible for the information system should not be changed frequently.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาการใช้ระบบสารสนเทศกองทัพบกของสายสรรพาวุธ มณฑลทหารบกที่ 33 จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDevelopment of e-Army of the Ordnance Department, Royal Thai Army – 33rd Military Circle, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashทหารบก-
thailis.controlvocab.thashสรรพาวุธ-
thailis.controlvocab.thashระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรต่อการพัฒนาการใช้ ระบบสารสนเทศ และ (2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการใช้ระบบสารสนเทศกองทัพบกของสาย สรรพาวุธมณฑลทหารบกที่ 33 จังหวัดเชียงใหม่ โคยผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูล คือ บุคลากรของ หน่วยงาน มีจำนวน 20 คน และผู้บริหารจำนวน 3 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการแจกแบบ สำรวจและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกด้วยคำถามแบบปลายเปิดโดยตั้งคำถามที่อยู่ในขอบเขตประเด็น ที่ต้องการและสามารถซักถามเพิ่มเดิม ในประเด็นอื่นๆที่เกี่ยวข้องได้ระหว่างการพูดคุยสนทนา เพื่อให้ ได้ข้อมูลที่มีรายละเอียดมากขึ้น ผลการศึกษาพบว่า ประเด็นการทดสอบระบบก่อนการนำมาใช้งานจริงโดยทางผู้พัฒนา เป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคลากรมีความเห็นต่อการทดสอบระบบว่าจะเป็น กระบวนการเพื่อกรลดความสี่ยงปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น โดยการทดสอบระบบจะเป็นการช่วยให้ บุคลากรผู้รับผิดชอบระบบสามารถใช้งานระบบได้เป็นอย่างดี ผู้วิจัยพิจารณาประเด็นข้องกันพบนี้อย่าง ระมัดระวังและได้นำเสนอแนวทางสำหรับการพัฒนาระบบสารสนเทศกองทัพบกของสายสรรพาวุธ ได้แก่ (1) ควรมีการชี้แจงถึงวัตถุประสงค์เป้าหมาย และความสำคัญในการพัฒนาการใช้ระบบฯ ให้ บุคลากรทุกคนเข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน (2) จะต้องมีการจัดการอบรมความรู้พัฒนาทักษะและ ทบทวนการทำงานอยู่สม (3) ควรพัฒนาการสื่อสารกับบุคลากรให้บุคลากรสามารถติดต่อ ประสานงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น (4) ควรมีตรวจสอบการทำงานเป็นประจำ เพื่อกำกับ ดูแลการทำงานให้มีความถูกต้อง (5) แก้ไขปัญหาระบบสารสนเทศที่มีความล่าช้าให้สามารถรองรับการเข้าทำงานในระบบพร้อมกันหลายหน่วยงานให้ได้โดยเร็วที่สุด (6) ไม่ควรมีการเปลี่ยนบุคลากรที่ ใช้งานระบบสารสนเทศกองทัพบกในการทำงานบ่อยครั้งเกินไป ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในภาพรวมที่ได้จากงานวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ หน่วยงานที่มีการใช้ระบบ สารสนเทศกองทัพบกสายสรรพาวุธ ควรส่งสริมการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านความรู้ ทักษะ และ ความสามารถในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมทั้งให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาการของการ ทำงานในปัจจุบันว่ามีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่ บุคลากร เสริมสร้างความสามารถเพื่อรองรับกับการพัฒนาที่จะเกิดขึ้นต่อไปในอนาคตen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.