Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78033
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธันยวัฒน์ รัตนสัค | - |
dc.contributor.author | สุชาดา งานนันไชย | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-13T10:23:59Z | - |
dc.date.available | 2023-06-13T10:23:59Z | - |
dc.date.issued | 2022-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78033 | - |
dc.description.abstract | This research aims to study 1) the model of the collective network operation of Mae Charim Highland Development Project using the Royal Project System and 2) the method to constantly maintain the network operation for the achievement of the project. This research is qualitative research in which the researcher collects data by using the in-depth interview of 22 interviewees who are the key person in the strategic management of the project. The results show that the model of collective working network of the project is an area-based and functional network. There is a formal cooperation pattern and horizontal relationship among members. The study also finds that members continually join the project' activities and has a good relationship preserving. There is an initiate to produce incentive mechanism, provide adequate resources and support, and promote new leaders continuously. hiang Mai University The result of the study leads to the suggestion that, for the success of network operation, the project should adopt the integration between each sector into network operation because each sector has different mission and capabilities including personnel, information and budget. Therefore, the integration of all sectors will make the network ready in all aspects, and be able to drive the network to success. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | เครือข่ายการทำงานด้านการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพที่ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษา โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงแม่จริม จังหวัดน่าน | en_US |
dc.title.alternative | Network operation for the promotion and sustainability and Eco-friendly career development: a case study of highland development model, Mae Charim Royal Project, Nan Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | โครงการหลวงแม่จริม | - |
thailis.controlvocab.thash | ความร่วมมือ -- น่าน | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารรัฐกิจ -- น่าน | - |
thailis.controlvocab.thash | การพัฒนาแบบยั่งยืน -- น่าน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษารูปแบบการทำงานร่วมกันในลักษณะ เครือข่ายในการขับเคลื่อน โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงแม่จริม (2) เพื่อศึกษาวิธีการ รักษาเครือข่ายการทำงานให้สามารถดำเนินการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง แม่จริม ได้อย่างต่อเนื่องจนประสบความสำเร็จ โดยงานวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยเก็บข้อมูลโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก ใช้วิธีการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเจาะจง ซึ่งคัดเลือกจากผู้มีบทบาทในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การดำเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นที่สูง แบบโครงการหลวงแม่จริม จำนวน 22 คน ผลการศึกษารูปแบบการทำงานร่วมกันในลักษณะเครือข่ายในการขับเคลื่อนโครงการพัฒนา พื้นที่สูงแบบโครงการหลวงแม่จริม พบว่า เครือข่ายการทำงานในการขับเคลื่อนโครงการฯ เป็นเครือข่ายเชิงพื้นที่ และเครือข่ายตามโครงสร้างหน้าที่ มีระดับการร่วมมืออย่างเป็นทางการ มีความสัมพันธ์ในลักษณะแนวราบ นอกจากนี้ผลการศึกษาวิธีการรักษาเครือข่ายการทำงาน ให้สามารถดำเนินการขับเคลื่อน โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงแม่ริมได้อย่างต่อเนื่อง จนประสบความสำเร็จ ผู้วิจัยพบว่า เครือข่ายการทำงานโครงการหลวงแม่จริม มีการจัดกิจกรรม ร่วมกันที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง มีการรักษาสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสมาชิกเครือข่าย มีการกำหนด กลไกสร้างระบบจูงใจ มีการจัดหาทรัพยากรสนับสนุนอย่างเพียงพอ และมีการให้ความช่วยเหลือ และช่วยแก้ไขปัญหา และมีการสร้างผู้นำรุ่นใหม่อย่างต่อเนื่องผลการศึกษาครั้งนี้นำไปสู่ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานขับเคลื่อนเครือข่ายให้ประสบ ความสำเร็จได้นั้น ควรมีการบูรณาการร่วมกันระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ เข้าเป็นเครือข่ายการทำงาน เนื่องจากแต่ละหน่วยงานหรือภาคส่วนต่าง ๆ มีภารกิจและศักยภาพไม่เหมือนกัน ทั้งบุคลากร ข้อมูล และงบประมาณ ดังนั้น การบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานหรือภาคส่วนต่าง ๆ จะทำให้เครือข่าย มีความพร้อมครบทุกค้าน เพื่อสามารถขับเคลื่อนเครือข่ายให้ประสบความสำเร็จหรือบรรลุเป้าหมา ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631932052 สุชาดา งานนันไชย.pdf | 1.59 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.