Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78013
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorศาสตรา ตันตระกูลen_US
dc.date.accessioned2023-06-12T11:12:24Z-
dc.date.available2023-06-12T11:12:24Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78013-
dc.description.abstractThis research aims to (1) study the organizational expectations regarding the Center of Information Technology in Lampang Provincial Administrative Organization (Lampang PAO) and (2) propose a working guideline for the Center of Information Technology in Lampang PAO. The data were collected from 160 employees working in the organization. This research conducts a survey method by using a questionnaire to collect staff expectation data regarding the Center of Information Technology in Lampang PAO. According to the qualitative research methodology, focus group discussion was used to collect the data for proposing guideline of establishing the center. The key informants, whose work was related to Information and Technology were included, i.e., 2 administrators of Lampang PAO, 5 Unit Directors, 20 Chiefs of Unit, and 5 staff. After that, the results gained were analyzed and used to support the questionnaire's results. The survey results show that people expected (at the highest average level) the center to be established, functional, and separated from other units. In terms of service, the highest average level of people's expectations is the information and technological services. There should be easy to access, convenient, and not complicated. In terms of benefit perceived, the highest average level of people's expectation is that the information technology is very useful to search for data related to their works, and their job could be done quickly and precisely. In terms of using intention, the highest average level shows that people are willing to cooperate and support the future works of the center. Furthermore, people expect at the highest average level that the roles and expertise of staff are determined in terms of organizational administration. In addition, the results obtained from the focus group discussion suggest that the guideline for the Center of Information Technology should follow the expectations of staff in Lampang PAO. Firstly, the Center should be established separately from other units. Secondly, the roles of staff should be determined according to their expertise. Thirdly, this place should be operated as an information center that has secured information storage and effective networking information. Therefore, the information could be used or applied by the administrators for further decision- making. Next, the web conference should be provided and the center should be organized as a data warehouse in which information could be used for the strategic planning for water management and weather forecast. The center could integrate or share the information with institutes at both local and national levels. Also, the staff of the center should be trained so they could use or apply the information and technology for their work. From this study, it is recommended that the Lampang PAO should publicize the establishment of the Center of Information Technology. So, the staff could be well-prepared for future changes. The meeting between the administrators and the Information and Technology staff should be focused. Likewise, the staff should be trained to fully utilize the information and technology for their work. Lastly, the operation regarding information and technology of the center should be following the strategic planning for sustainability of the Lampang PAO.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeGuidelines for establishment of the center of information technology in Lampang Provincial Administrative Organizationen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง-
thailis.controlvocab.thashเทคโนโลยีสารสนเทศ -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashการกระจาย -- ลำปาง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาความคาดหวังหน่วยงานในสังกัดขององค์การ บริหารส่วนจังหวัดลำปางที่มืต่อศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง และ (2)เพื่อนำเสนอโครงสร้งและแนวทางในการทำงานของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดลำปาง ผู้ศึกษาเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจากผู้ปฏิบัติงานในองค์การบริหารส่วนจังหวัด ลำปาง จำนวน 160 คน งานวิจัยนี้มีการศึกษาเชิงสำรวจโดยใช้การเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามเพื่อ เก็บข้อมูลความคาดหวังของบุคลากร ที่มีต่อศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ องค์การบริหารส่วนจังหวัด ลำปาง นอกจากนี้ ผู้วิจัยได้ใช้ระเบีบวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อนำข้อมูลประกอบนำเสนอโครงสร้างและ แนวทางในการทำงานของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง โดย ศึกษาวิจัยผ่านกระบวนการประชุม กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ข้าราชการผู้บริหารองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดลำปาง จำนวน 2 คน ผู้อำนวยการกอง จำนวน 5 คน และหัวหน้าแผนก จำนวน 20 คน และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 5 คน เพื่อจะนำข้อมูลที่ได้มาใช้ใน การสนับสนุนผลการวิเคราะห์ที่ได้จากแบบสอบถาม และนำไปสู่แนวทางการจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศ ในองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง ผลการศึกษาในส่วนของการสำรวจพบว่า ระดับความคาดหวังด้านสถานที่ หัวข้อที่มีค่าเฉลี่ย สูงสุด คือคาดหวังให้มีการจัดตั้งเป็นหน่วยงานและพื้นที่เฉพาะ มีความเป็นสัดส่วน แยกจากกอง/ฝ่าย อื่นๆ ระดับความคาดหวังด้านความยากง่ายต่อการใช้งาน/บริการ หัวข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือคาดหวัง การมีระบบเทคโนโลยีด้านการให้บริการข้อมูล ที่ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว ไม่ยุ่งยาก ระดับความคาดหวังด้านการรับรู้ประโยชน์ หัวข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ เทคโนโลยีสารสนเทศมีประโยชน์ต่อการค้นหาข้อมูล เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็วเพื่อให้เกิด ความถูกต้องแม่นยำ ระดับความคาดหวังด้านความตั้งใจใช้งาน หัวข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือพร้อมที่จะ ให้ความร่วมมือและสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ อบจ.ลำปางที่จะจัดตั้ง ขึ้นในอนาคต และ ระดับความคาดหวังด้านการบริหารจัดการสารสนเทศ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดจากทั้ง 5 ด้าน หัวข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือคาดหวังให้มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานตามความ เชี่ยวชาญ นอกจากนี้ผลการศึกษาจากการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้เสนอโครงสร้างและแนวทางในการทำงาน ของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง ให้เป็นไปตามความคาดหวังของ ผู้ปฎิบัติงานในองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง ได้แก่ (1) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ในองค์การ บริหารส่วนจังหวัดลำปางควรจัดตั้งเป็นหน่วยงานและมีพื้นที่เฉพาะส่วนแยกจากกองและฝ่ายอื่นๆ (2) มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานตามความเชี่ยวชาญ (3) เป็นศูนย์กลางที่รวบรวมข้อมูล สารสนเทศขององค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง มีการพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูล เกิดระบบเครือข่าย เชื่อมโยงหน่วยงานภายในของท้องถิ่นที่มีประสิทธิภาพ น่าเชื่อถือ มีเสถียรภาพการทำงานและมีความ มั่นคงในเรื่องข้อมูลข่าวสารและใช้ป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารในการบริหารงาน (4) มีระบบการประชุมทางไกลออนไลน์ ที่มีประสิทธิภาพ (5) เป็นคลังข้อมูลที่ใช้ในการวางแผนด้าน ต่างๆ เช่น ข้อมูลน้ำและภูมิอากาศ บูรณาการข้อมูลในระดับชาติร่วมกับข้อมูลระดับท้องถิ่น (6) จัดให้ มีการฝึกอบรมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้ปฏิบัติงาน รับรู้ถึงความง่ายและประโยชน์ที่ได้รับ จากนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน สำหรับข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปางควร ประชาสัมพันธ์เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติงานเตรียมพร้อมสำหรับการจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศที่ จะขึ้นในอนาคต ให้ความสำคัญกับวางแผนร่วมกันในการเตรียมความพร้อมในการจัดศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศ ระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานที่มีความเชี่ยวชาญในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การ เตรียมจัดอบรมผู้ปฏิบัติงานในองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปางเพื่อย้ำให้เห็นถึงประโยชน์ของใน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงาน อีกทั้งองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปางดำเนินการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปางอย่างยั่งยืนen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932049 ศาสตรา ตันตระกูล.pdf18.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.