Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78012
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปฐมาวดี จงรักษ์ | - |
dc.contributor.author | ศรัญยา ปาปลูก | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-12T10:59:12Z | - |
dc.date.available | 2023-06-12T10:59:12Z | - |
dc.date.issued | 2022-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78012 | - |
dc.description.abstract | This research aims to 1) study the driving mechanism for spatial development to the "Kok Nong Na" model for sustainable development of the Lampang community development learning center. 2) study the results of the spatial development to the "Kok Nong Na" model of households to affect sustainable development social, economic, and environmental issues. This is qualitative research using a case study which is collected specific data from 10 purposive samples that belong to the Lampang community development learning center and households. The result shows that the driving mechanism for spatial development to the "Kok Nong Na" model for sustainable development of the Lampang community development learning center consists of 5 mechanisms: 1) Coordinating network mechanism there is the coordination of network partners by integrating participatory work through participation in activities 2) Plans and integrated strategies mechanism the agency's strategic plan is not established but a vision is set to achieve common goals. 3) Monitoring and evaluation mechanism are applied to monitor the progress of operations and problems to achieve the specified goals. 4) Knowledge management mechanism by using the connecting knowledge and exchange learning for spatial development. 5) Social communication mechanism creates broader awareness which helps to enhance the existing working coordination with 7 network partners participating in the drive. It become a learning center for the sufficiency economy for sustainable community development. That lead to expand learning areas to increase knowledge,understanding, and can apply with the King's Bhumibol science according to the sufficiency economy philosophy to solving social, economic, and environmental issues through the spatial development to the "Kok Nong Na" model to develop a stable quality of life build a foundation for self-reliance and build the immune to social change towards sustainable development. Recommendations from this research should create a memorandum of understanding in the level associate center of network and strategic planning. Furthermore, team building of knowledge facilitator as well as to create sufficient for themself and extend the effect to people in society to improve in a better way. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | กลไกการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่สู่รูปแบบ “โคก หนอง นา” เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลำปาง | en_US |
dc.title.alternative | Driving mechanism for spatial development to the “Kok Nong Na” model for sustainable development of the Lampang Community Development Learning Center | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลำปาง | - |
thailis.controlvocab.thash | การพัฒนาแบบยั่งยืน -- ลำปาง | - |
thailis.controlvocab.thash | โครงการหลวง | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มี วัดถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากลไกการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่สู่รูปเบบ "โดก หนอง นา" ของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลำปาง และ 2)ศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาพื้นที่สู้รูปเบบ "โคก หนองนา" ของครัวเรือน ส่งผลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ทั้งค้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีกรณีศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลแบบถพาะเจะจงตามวัตถุประสงค์ คือ เจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ของศูนย์ศึกษาเละพัฒณาชุมชนลำปาง และครัวเรือนพัฒนา พื้นที่เรียนรู้ "โคก หนอง นา" รวม 10 คน ผลการศึกษา พบว่า กลไกการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่สู่รูปแบบ "โคก หนอง นา" ของศูนย์ศึกษา และพัฒนาชุมชนลำปาง ประกอบด้วย 5 กลไก ได้แก่ 1) กลไกการประสานงานภาคีเครือข่าย มีการประสานงาน ภาคีเครือข่าย ด้วยการบูรณาการการทำงานแบบมีส่วนร่วมผ่านการเข้าร่วมกิจกรรม 2) กลไกแผนงาน และยุทธศาสตร์เชิงบูรณาการ ไม่มีการกำหนดแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน แต่มีการกำหนดวิสัยทัศน์ เพื่อบรรลุเป้าหมายร่วมกัน 3) กล ไกการติดตามและประเมินผล ใช้การกำกับ ติดตามความก้าวหน้าของ การปฏิบัติงาน ตลอดจนปัญหาอุปสรรค ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด 4) กลไกการจัดการความรู้ ด้วยการเชื่อมโยงความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาพื้นที่ให้เกิดขึ้น 5) กลไกการสื่อสารสังคม สร้างการรับรู้ ให้เกิดการปฏิบัติในวงกว้าง ซึ่งกลไกดังกล่าว จะช่วยเสริมพลังการทำงานที่มีอยู่เดิม โดยมีภาคีเครือข่ายทั้ง 7 ภาคีร่วมขับเคลื่อน เกิดเป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน สู่การขยายผล ครัวเรือนให้มีความรู้ ความเข้าใจ และประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการแก้ไขปัญหาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ผ่านการพัฒนาพื้นที่ของตนเองในรูปแบบ "โคก หนอง นา" ทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มั่นคง สร้างพื้นฐานการพึ่งตนเอง และมีภูมิคุ้มกัน ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป ข้อเสนอแนะการศึกษาในครั้งนี้ ควรมีการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระดับศูนย์กับภาคีเครือข่ายและมีการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน สร้างทีมผู้เอื้ออำนวยกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการความรู้ ตลอดจนควรสร้างความพอเพียงให้เกิดขึ้นกับ ตนเองก่อน และ ขยายผลแก่คนในสังคม เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่ดีขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631932048 ศรัญยา ปาปลูก.pdf | 1.93 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.