Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78004
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพฤกษ์ อักกะรังสี-
dc.contributor.authorณัฐชา หิรัญจิตต์en_US
dc.date.accessioned2023-06-12T01:20:43Z-
dc.date.available2023-06-12T01:20:43Z-
dc.date.issued2020-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78004-
dc.description.abstractThe objective of this study was to investigate the optimal feeding regime of trace element on biogas production from bio ethanol waste water aiming to increase process stability and biogas production efficiency. Experiment was performed in lab-scale continuous stirred tank reactor having volume of 10 liters under anaerobic digestion condition at the organic load rate of 0.50 - 7.42 kgCOD/m3•d. The control case without element addition can achieve maximum organic loading rate of 3.30 kgCOD/m3•d before process instability can be seen where volatile fatty acid/alkalinity ratio increased above 0.30 and methane content began to drop from the maximum ratio of 67.7%. Compared with the same digestion with addition of trace elements (TEs) including iron, nickel and zinc directly to the first fermentation stage, the process could handle maximum OLR of 4.94 kgCOD/m3•d and maintained volatile fatty acid/alkalinity ratio below 0.30. In addition, biogas production is also increased to 0.325 ± 0.75 liters per kgCOD added. Day with maximum methane content of 70.6%. The cost of trace element addition is estimate to be is 0.026baht per kgCOD added per day.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectก๊าซชีวภาพen_US
dc.subjectการเติมโลหะไอออนen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมเอทานอลen_US
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพจากของเสียอุตสาหกรรมเอทานอลโดยการเติมโลหะไอออนen_US
dc.title.alternativeEfficiency increasement of biogas production from vinasse by trace element additionen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashก๊าซชีวภาพ-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมก๊าซชีวภาพ-
thailis.controlvocab.thashไอออน-
thailis.controlvocab.thashการกำจัดของเสีย-
thailis.controlvocab.thashของเสียจากโรงงาน-
thailis.controlvocab.thashเอทานอล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการเติมโลหะไอออนที่เหมาะสมต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียอุตสาหกรรมเอทานอล โดยกลุ่ม โลหะที่นำมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพ ได้แก่ เหล็ก นิกเกิล และสังกะสี ในการเดินระบบการผลิตก๊าซชีวภาพใช้ถังปฏิกรณ์ชีวภาพชนิดกวนสมบูรณ์ขนาค 10 ลิตรโดยทำการทคลองภายใต้สภาวะการย่อยสลายสารอินทรีย์แบบไร้อากาศที่อัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์เท่ากับ 0.50 - 7.42 กิโลกรัมซีโอดีต่อลูกบาศก์เมตรต่อวัน พบว่ากรณีที่ไม่เติมโลหะไอออนสามารถคงสภาวะคงที่ของระบบที่อัตราการบรรทุกสารอินทรีย์ต่ำกว่า 3.30 กิโลกรัมชีโอดีต่อถูกบาศก์เมตรต่อวัน โดยเมื่อเพิ่มภาระบรรทุกสารอินทรีย์ขึ้นพบว่าระบบมีสภาวะการผลิตก๊ชมีเทน และลดลง และ ไม่สามารถรักษาอัตราส่วนระหว่างปริมาณกรดอินทรีย์ระเหยต่อความด่างให้ต่ำกว่า 0.30 ได้ แต่เมื่อเดิม โลหะไอออน กับการเดินระบบคู่ขนานกัน พบว่าระบบสามารถรองรับอัตราการบรรทุกสารอินทรีย์ได้สูงสุด 494 กิโลกรัมชีโอดีต่อลูกบาศก์เมตรต่อวัน มีปริมาณก๊าซชีวกาพที่ผลิตได้เท่ากับ 0.325 + 0.75 ลิตรต่อกิโลกรัมซีโอดีเติมต่อวัน และสัดส่วนก๊าชมีเทนสูงสุดเท่ากับ 70.56% โดยจากการทคลองพบว่า รูปแบบการเดิมโลหะไอออน ได้แก่ เหล็ก นิกเกิล และสังกะสี โดยทำการเติมปริมาณของโลหะไอออนเท่ากับ 0.027มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมชีโอดีเติมต่อวัน คิดเป็น 0.026 บาทต่อกิโลกรัมซีโอดีเติมต่อวันen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600631121 ณัฐชา หิรัญจิตต์.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.