Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77978
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อลงกรณ์ คูตระกูล | - |
dc.contributor.author | ภูษณิศา คำมูลดี | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-08T10:19:34Z | - |
dc.date.available | 2023-06-08T10:19:34Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77978 | - |
dc.description.abstract | This study has the following research objectives: 1. To study the effectiveness of the staff of the Botanical Garden Organization under the policy of working at home in the epidemic situation of the Coronavirus Disease 2019 2. To study the factors affecting the effectiveness of the staff of the Botanical Garden Organization under the work from home policy in the epidemic of coronavirus disease 2019 and 3. To propose guidelines for operating in various fields under the policy of working at home in the situation of the coronavirus disease 2019 epidemic with various groups of personnel of the Botanical Garden Organization. The researcher used a qualitative research methodology. Use the interview form as a tool. Key informants are: 40 personnel in the Botanical Garden Organization area, Mae Raem Subdistrict, Mae Rim District, Chiang Mai Province. The results of the study found that the work of the Botanical Garden Organization personnel under the work at home policy effective and in accordance with the policy suitable for the organization which can work within the specified time of 32 persons, representing 80.00%. Factors affecting the effectiveness of the staff of the Botanical Garden Organization under the work-at-home policy were personal factors, consisting of: 1. equipment, 2. location, and 3. time management between daily life and work. Organizational factors consist of: 1. organizational policy, 2. internal communication, 3. budget, 4. promotion, and 5. designing a work structure and clear performance measures or KPIs. Guidelines for operations in various fields in the short term (3-6 months) are: 1. Communicate clearly for employees to understand 2. Survey on the need for equipment, tools, and information technology systems in the long term (from 1 year or more) 1. Prepare for resources and 2. Support more work from home. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ประสิทธิผลการทำงานของบุคลากรองค์การสวนพฤกษศาสตร์ ภายใต้นโยบายการทำงานที่บ้านในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 | en_US |
dc.title.alternative | The Effectiveness of the Botanical Garden Organization staffs under the work from home policy in situation of the coronavirus disease 2019 pandemic | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | สวนพฤกษศาสตร์ -- พนักงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | โควิด-19 (โรค) -- แม่ริม(เชียงใหม่) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ได้แก่ 1.เพื่อศึกษาประสิทธิผลการทำงาน ของบุคลากรองค์การ สวนพฤกษศาสตร์ภายใต้นโยบายการทำงานที่บ้านในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 2.เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการทำงานของบุคลากรองค์การสวนพฤกษศาสตร์ ภายใต้นโยบายการทำงานที่บ้านในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 3.เพื่อเสนอแนวทางในการดำเนินงานด้านต่าง ๆ ภายใต้นโยบายการทำงานที่บ้านในสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กับบุคลากรกลุ่มต่างๆ ขององค์การสวนพฤกษศาสตร์ ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้แบบสัมภายณ์เป็นเครื่องมือ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญได้แก่ บุคลากรใน พื้นที่องค์การสวนพฤกษศาสตร์ ตำบลแม่แรม อำเกอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 40 คน ผลการศึกษา พบว่า การทำงานของบุคลากรองค์การสวนพฤกษศาสตร์ภายใต้นโยบายการทำงานที่บ้าน มีประสิทธิผล และเป็นไปตามนโยบาย เหมาะสมกับองค์การ โดยสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมายที่กำหนด จำนวน 32 ราย คิดเป็นร้อยละ 80.00 ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผล การทำงานของบุคลากรองค์การสวน พฤกษศาสตร์ ภายใต้นโยบายการทำงานที่บ้าน ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย 1 .ด้านอุปกรณ์ 2. ด้านสถานที่ และ 3.การบริหารเวลาระหว่างชีวิตประจำวันกับการทำงาน ปัจจัยชิงองค์การ ประกอบด้วย 1.นโยบายขององค์กร 2.การสื่อสารภายในองค์กร 3.งบประมาณ 4.การส่งเสริมการ เรียนรู้ และ 5. การ ออกแบบโครงสร้างระบบการทำงานและการวัดประสิทธิผล หรือตัวชี้วัด การทำงานที่ชัดเจน แนวทาง ในการดำเนินงานด้านต่าง ๆ ในระยะสั้น (3-6 เดือน) ได้แก่ 1.การสื่อสารให้พนักงานเข้าใจอย่างชัดเจน 2. สำรวจความต้องการอุปกรณ์ เครื่องมือ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ในระยะยาว (ตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป) 1. เตรียมความพร้อมด้านทรัพยากร และ 2. สนับสนุนการทำงานรูปแบบการทำงานที่บ้านมากขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631932040 ภูษณิศา คำมูลดี.pdf | 2.05 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.