Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77972
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศักดิ์เกษม ระมิงค์วงศ์-
dc.contributor.authorชนิกานต์ พลพิพัฒนพงศ์en_US
dc.date.accessioned2023-06-08T09:40:19Z-
dc.date.available2023-06-08T09:40:19Z-
dc.date.issued2023-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77972-
dc.description.abstractPharmaceutical inventory plays one of the significant roles involved in hospital operations. However, the limitation of inventory space causes the complexity of inventory control. Therefore, the purpose of this research is to improve the efficiency of Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital’s Pharmaceutical Inventory. The principle of ABC-VED Classification is applied in this research to prioritize the medicine inventory. The medicines from group I 10 items out of 1,365 items are used to be samples for show calculation the optimal number of inventory. The optimal number is defined by using the equation of Economic Order Quantity (EOQ), Safety Stock (SS), and Reorder Point (ROP). The result of the developed models can reduce the total cost by 19.94%, medicine shortages and the number of expired medicine. Moreover, about working process improve the efficiency part, the principle of simulation, Value Stream Mapping (VSM), Lean management and Visual control is applied in this research. Participle of ABC Classification is applied to prioritize the highest demand level of medicine for reorganize space in inventory. In addition, simulation working process by ARENA is used to minimize working distance and working time. The result of the developed models can reduce total working time from actual situation by 7.34%.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการจัดการคลังค้าen_US
dc.subjectสินค้าคงคลังen_US
dc.subjectแผนผังสายธารคุณค่าen_US
dc.subjectLeanen_US
dc.subjectABC Classificationen_US
dc.subjectEOQen_US
dc.subjectROPen_US
dc.subjectIDEF0en_US
dc.subjectSimulationen_US
dc.subjectArenaen_US
dc.titleการปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานในคลังเก็บยาของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeOperational efficiency improvement in pharmaceutical warehouse of Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospitalen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashยา -- การเก็บในคลัง-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมสินค้าคงคลัง-
thailis.controlvocab.thashสินค้าคงคลัง-
thailis.controlvocab.thashการผลิตแบบลีน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractคลังเก็บยามีความสำคัญกับการจัดการและดำเนินงานของโรงพยาบาลอย่างมาก แต่อย่างไรก็ตามด้วยพื้นที่คลังที่มีอย่างจำกัด ทำให้ยากต่อการควบคุมสินค้าภายในคลัง งานวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบและการทำงานของคลังเก็บยาของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ด้วยหลักการควบคุมสินค้าคงคลังที่แบ่งประเภทความสำคัญของสินค้าเพื่อจัดลำดับความสำคัญของรายการยา จากนั้นทำการยกตัวอย่างยาที่มีความสำคัญสูง ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่ม I เป็นจำนวน 10 รายการจากทั้งหมด 1,365 รายการ เพื่อเป็นตัวอย่างในการหาจำนวนที่เหมาะสมของยาคงคลังถูกกำหนดโดยใช้หลักการ ปริมาณการสั่งซื้อสินค้าที่เหมาะสม (EOQ), สินค้าคงคลังขั้นต่ำ(SS) และจุดสั่งซื้อใหม่ (ROP) ซึ่งผลการคำนวณพบว่าสามารถลดต้นทุนรวมได้ 19.94% และลดการขาดแคลนยา และปริมาณยาหมดอายุลงได้ ส่วนในด้านการทำงานภายในคลังเก็บยาได้ประยุกต์ใช้ทฤษฎีการจำลองสถานการณ์ (Simulation) แผนผังสายธารคุณค่า (VSM) และทำการจำลองการจัดคลังยาใหม่ด้วยแนวคิดลีน (Lean Management) และ การควบคุมด้วยการมองเห็น(Visual Control) โดยการใช้ข้อมูลความถี่และปริมาณการเบิกของยาแต่ละตัวตามทฤษฎี ระบบการจัดการและ ควบคุมสินค้าคงคลังที่แบ่งประเภทความสำคัญของสินค้า(ABC Classification) เพื่อเป็นแนวทางในการจัดผังคลังเก็บยาใหม่ หลังจากนั้นทำการจำลองระบบการทำงานจริงและหลังการปรับปรุงด้วยการจำลองสถานการณ์ ผ่านโปรแกรม ARENA เมื่อเปรียบเทียบเวลาและระยะทางก่อนและหลังการปรับปรุง พบว่าสามารถลดระยะทางในการทำงานลง 7.34% จากระยะเวลาเดิมen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631113-ชนิกานต์ พลพิพัฒนพงศ์.pdf8.74 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.