Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77950
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSiriwut Buranapin-
dc.contributor.advisorNittaya Jariangprasert-
dc.contributor.advisorKemakorn Chaiprasit-
dc.contributor.authorWiphawan Limphaiboolen_US
dc.date.accessioned2023-06-07T00:44:23Z-
dc.date.available2023-06-07T00:44:23Z-
dc.date.issued2023-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77950-
dc.description.abstractThis dissertation aims to (1) provide the critical appraisal of theoretical conceptualization to deepen the understanding of mindfulness and resilience at the individual and organizational level, (2) explore the relationship between these constructs, and (3) identify the formation of organizational resilience through the mindfulness process. A mixed method research design consisting of three empirical studies, critical incident technique, cross-sectional survey, and focus group discussions, was utilized. This study was conducted in three phases as follows; In phase 1, the qualitative study, the critical incident technique and thematic analysis were employed to confirm the conceptual model and ensure the content validity of the tests. The qualitative result in this phase confirmed the link of individual mindfulness in Western perspective or an active state (novelty seeking, novelty producing, flexibility, and engagement), as well as in collective mindfulness and organizational resilience. Moreover, the result in this phase revealed that individual mindfulness in Eastern perspective or a passive state (awareness, and attention), which had not been specified in the conceptual model, relates to collective mindfulness and organizational resilience. Phase 2, a quantitative study, is a cross-sectional survey with a sample group of 783 employees from 21 organizations (10 High reliability organizations, and 11 general organizations). The main objective of the second phase was to investigate the relationship between mindfulness and resilience. The results showed that individual mindfulness has a positive impact on collective mindfulness but it has no significant direct effect on organizational resilience. However, collective mindfulness has a positive impact on organizational resilience and acts as a mediator between individual mindfulness and organizational resilience. In Phase 3, the qualitative study, focus group discussions and framework analysis was used to provide in-depth and additional explanation of vital elements which caused an effect on the relationship of constructs in Phase II and process of individual mindfulness, collective mindfulness, and organizational resilience. The results showed that individual mindfulness (awareness and attention) was developed from meditation practices. Individual mindfulness enhances collective mindfulness. Mindfulness at the level of individual and organizations is supported from organizational culture, policy, vision, and social environment. The results from this phase confirmed the conceptual model that individual mindfulness and collective mindfulness are the foundations of organizational resilience along with important elements including leadership, management (planning, forecasting, analyzing, and competitive strategy), communication, and teamwork, novelty, and adaptive capacity. The contributions of this present study are theoretical and empirical to the theory and concept of organizational resilience, individual mindfulness, and collective mindfulness. Moreover, this study has implications for research on managerial relevance. The management team and leader can improve organizational resilience and thus the sustainability of the organization.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectMindfulnessen_US
dc.subjectResilienceen_US
dc.subjectCollective mindfulnessen_US
dc.subjectOrganizational Resilienceen_US
dc.titleRole of individual and collective mindfulness in enhancing organizational resilienceen_US
dc.title.alternativeบทบาทของสติระดับบุคคลและสติระดับองคก์รในการเพิ่มความสามารถคืนสภาพขององค์กรen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshMindfulness (Psychology)-
thailis.controlvocab.lcshResilience (Personality trait)-
thailis.controlvocab.lcshOrganizational effectiveness-
thailis.controlvocab.lcshAbility-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) รวบรวมวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับสติและความสามารถ คืนสภาพ (2) ค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างสติที่มีผลต่อความสามารถคืนสภาพทั้งในระดับบุคคล และระดับองค์กร และ (3) นำเสนอกระบวนการเพื่อการพัฒนาความสามารถในการคืนสภาพขององค์กรผ่านกระบวนการแห่งสติ งานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน ได้แก่ เทคนิคเหตุการณ์สำคัญ การเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม และการสนทนากลุ่ม จึงแบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ระยะได้แก่ ระยะที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพใช้เทคนิคเหตุการณ์สำคัญ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์แก่นสาระ เพื่อยืนยันองค์ประกอบของตัวแปรตามแบบจำลองแนวคิดการวิจัย และดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบถาม ผลการศึกษายืนยันองค์ประกอบของตัวแปรแบบจำลองแนวคิดการวิจัย ว่าองค์ประกอบของสติระดับบุคคลตามมุมมองทางตะวันตก ซึ่งประกอบด้วย การค้นหาสิ่งใหม่ การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ความสามารถในการปรับตัว และการตอบสนองต่อสภาวะแวดล้อม มีความสัมพันธ์กับทั้งสติระดับองค์กร และกับความสามารถคืนสภาพขององค์กร นอกจากนั้น การศึกษาในระยะนี้ยังพบตัวแปรเพิ่มเติมนอกเหนือจากแบบจำลองแนวคิดการวิจัย ว่าองค์ประกอบของสติระดับบุคคลตามมุมมองทางตะวันออก ซึ่งประกอบด้วย การตระหนักรู้ และ การเอาใจใส่ต่อสิ่งที่เกิดขึ้น มีส่วนเกี่ยวข้องกับสติระดับองค์กร และความสามารถคืนสภาพขององค์กรด้วยเช่นเดียวกัน ระยะที่ 2 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเก็บข้อมูลจากพนักงานจำนวน 783 ชุดจาก 21 องค์กร ประกอบด้วยองค์กรที่น่าไว้วางใจจำนวน 10 องค์กร และองค์กรทั่วไปจำนวน 11 องค์กร ผลการศึกษาพบว่าสติระดับบุคคลมีผลต่อสติระดับองค์กร แต่ไม่มีผลโดยตรงต่อความสามารถคืนสภาพขององค์กร นอกจากนั้นสติระดับองค์กรก็มีผลต่อความสามารถคืนสภาพขององค์กรอย่างมีนัยสำคัญ และมีบทบาทในการเป็นตัวแปรส่งผ่านแบบสมบูรณ์ระหว่างสติระดับบุคคลและความสามารถคืนสภาพขององค์กร ระยะที่ 3 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสนทนากลุ่ม เพื่อค้นหาคำอธิบายเชิงลึกเพิ่มเติมจากการศึกษาระยะที่ 2 เกี่ยวกับปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสัมพันธ์ และกระบวนการของสติระดับบุคคล สติระดับองค์กร และ ความสามารถคืนสภาพขององค์กร ผลการศึกษาพบว่าสติระดับบุคคล (การตระหนักรู้ และการเอาใจใส่) พัฒนาได้จากการฝึกฝนสมาธิ และเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดสติระดับองค์กร โดยทั้งสติระดับบุคคลและสติระดับองค์กรสามารถเกิดขึ้นได้โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากองค์กร ได้แก่ วัฒนธรรม นโยบาย วิสัยทัศน์ และสภาพแวดล้อมทางสังคม ผลการศึกษายืนยันแบบจำลองแนวคิดการวิจัยว่าสติระดับบุคคลและสติระดับองค์กรเป็นพื้นฐานของความสามารถคืนสภาพขององค์กร แต่พบว่ายังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่มีความสำคัญต่อความสามารถคืนสภาพขององค์กร ได้แก่ ความเป็นผู้นำ การบริหารองค์กร (การวางแผน การพยากรณ์ การวิเคราะห์ และกลยุทธ์การแข่งขัน) การสื่อสาร ความสัมพันธ์ของทีมงาน การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ และความสามารถในการปรับตัว ผลการศึกษานี้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาองค์ความรู้ในทางทฤษฎี และเป็นประโยชน์เพื่อการยืนยันผลการวิจัยเชิงประจักษ์ของทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับความสามารถคืนสภาพขององค์กร สติระดับบุคคล และสติระดับองค์กร นอกจากนั้นการศึกษานี้ยังเป็นประโยชน์ในเชิงบริหาร โดย ผู้บริหารและผู้นำขององค์กร สามารถนำผลการศึกษามาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติจริง เพื่อสร้างความสามารถคืนสภาพ และความยั่งยืนขององค์กรต่อไปen_US
Appears in Collections:BA: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601551004-WIPHAWAN LIMPHAIBOOL.pdf2.82 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.