Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77949
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรรถพล สมุทคุปติ์ | - |
dc.contributor.author | ชลดา นาคแก้ว | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T09:04:19Z | - |
dc.date.available | 2023-06-06T09:04:19Z | - |
dc.date.issued | 2023-01 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77949 | - |
dc.description.abstract | This research introduces the improvement of the regulatory compliance process using information technology applied with lean manufacturing technique to analyse problems of the process and develop the process of the regulatory compliance of some factory located in Lampang for complied with ISO 14001 and ISO 45001. To optimize the processes, there are many different tools had been used to collect data on the workflow, analysed root cause of the problem, identified the wastes activities, and specified methods improvement for reducing time and wastes in activity. For the evaluation of the result, compared the steps of activities before-after improvement and compared reduce time after improving. The results showed that many work steps took a long time, redundancy process, not apply process with information technology were the cause of the regulatory compliance process delayed. Therefore, the work process has been rearranged by using ECRS to improve the work process and apply information technology systems to help easier and faster. In conclusion of the research can achieve the objectives. The results able to reduce work steps from 15 to 9 steps by rearranging work process and eliminate unnecessary work steps. Applying Compliance Management System (CMS) to make simplifier and to reduce time of 4 tasks; 1) Legal considerations step which can reduce an average amount of time is 0.06 days from 7.7 days. 2) Legal compliance assessment step which can reduce an average amount of time is 4.8 days from 48.67 days. 3) Compliance monitoring step which can reduce an average amount of time is 19.31 days from 113.94 days. 4) Assessment summary step which can reduce an average amount of time is 0 day from 0.06 days. The cycle time of the process can be reduced from 170.37 days to 24.18 days. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ปรับปรุงกระบวนการ | en_US |
dc.subject | เทคโนโลยีสารสนเทศ | en_US |
dc.subject | การลดความสูญเปล่า | en_US |
dc.subject | ลีน | en_US |
dc.subject | เพิ่มประสิทธิภาพ | en_US |
dc.title | การปรับปรุงกระบวนการการกำกับการปฏิบัติตามกฎหมายโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | en_US |
dc.title.alternative | Regulatory compliance process improvement using information technology | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | กฎหมาย | - |
thailis.controlvocab.thash | การผลิตแบบลีน | - |
thailis.controlvocab.thash | เทคโนโลยีสารสนเทศ | - |
thailis.controlvocab.thash | ประสิทธิภาพ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยชิ้นนี้นำเสนอแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการการกำกับการปฏิบัติตามกฎหมายโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ด้วยเทคนิคลีน มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและประสิทธิภาพของกระบวนการการกำกับการปฏิบัติตามกฎหมาย และพัฒนารูปแบบการปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการการกำกับการปฏิบัติตามกฎหมายของโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งในจังหวัดลำปางให้สอดคล้องกับระบบมาตรฐาน ISO 14001 และ ISO 45001 เพื่อให้การปรับปรุงกระบวนการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ได้นำเครื่องมือมาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลขั้นตอนการทำงานของกระบวนการ วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ระบุความสูญเปล่า และหาแนวทางการปรับปรุง เพื่อลดเวลาและกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความสูญเปล่า โดยมีการเปรียบเทียบขั้นตอนการทำงานก่อนปรับปรุงและหลังปรับปรุงกระบวนการทำงาน จากการปรับปรุงกระบวนการการกำกับการปฏิบัติตามกฎหมายที่ใช้ระยะเวลานานเนื่องจากมีขั้นตอนการทำงานจำนวนมาก ขั้นตอนซ้ำซ้อน และไม่มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ ส่งผลให้การทำงานล่าช้า จึงได้มีการจัดลำดับขั้นตอนการทำงานใหม่ด้วยการนำหลัก ECRS เข้ามาช่วยในการปรับปรุงกระบวนการทำงาน นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยให้การทำงานง่ายและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ผลวิจัยพบว่าสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ สามารถลดขั้นตอนการทำงานเหลือ 9 ขั้นตอน จาก 15 ขั้นตอน โดยการจัดลำดับขั้นตอนการทำงานใหม่ ขจัดขั้นตอนที่ไม่จำเป็นออกไป และนำระบบกำกับการปฏิบัติตามกฎหมาย (CMS : Compliance Management System) เข้ามาใช้เพื่อเป็นเครื่องมือในการทำให้การดำเนินงานง่ายยิ่งขึ้นและลดเวลาของงานทั้ง 4 งาน ด้วยการ ได้แก่ 1) งานพิจารณากฎหมาย ใช้ระยะเวลาการทำงานเฉลี่ยจาก 7.7 วัน ลดลงเหลือ 0.06 วัน 2) งานประเมินความเกี่ยวข้องของกฎหมาย ใช้ระยะเวลาการทำงานเฉลี่ยจาก 48.67 วัน ลดลงเหลือ 4.80 วัน 3) การติดตามการปฏิบัติตามกฎหมาย ใช้ระยะเวลาการทำงานเฉลี่ยจาก 113.94 วัน ลดลงเหลือ 19.31 วัน 4) สรุปผลการประเมินฯ ใช้ระยะเวลาการทำงานเฉลี่ยจาก 0.06 วัน ลดลงเหลือ 0 นาที สามารถลดรอบเวลาของกระบวนการทั้งหมดได้จาก 170.37 วัน เหลือ 24.18 วัน | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640632010 - ชลดา นาคแก้ว.pdf | 2.05 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.