Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77915
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรวิ รุ่งเรืองศรี-
dc.contributor.authorจาตุรนต์ เศรษฐเสถียรen_US
dc.date.accessioned2022-12-15T13:49:52Z-
dc.date.available2022-12-15T13:49:52Z-
dc.date.issued2022-10-13-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77915-
dc.description.abstractInfluence of integrated marketing communication of smartphone retail storeson purchasing decision among generation Z in Mueang Chiang Mai district was studied by collecting data from a sample group of Generation Z consumersborn during the year 1995-2009 and lived in Mueang Chiang Mai district. The sample group used to buy a new smartphone product which operates an Android or IOS system at least once before answering the questionnaire within 3 years.Purchases were made by 300 consumers in front of smartphone product retailers with an online questionnaire. The data were analyzed by descriptive and inferential statistics. The results showed that most of them were male, had education at secondary or vocational level. They had an average income of 1-5,000 baht per month and were using a smartphone in the price range of 10,001-15,000 baht. The reason for changing or buying a new smartphone was the old device was damaged. The person who influenced on decision to buy a new smartphone was oneself. The opinion on integrated marketing communications of smartphone retail stores and the purchase decision were at agreeing level. Moreover, the integrated marketing communication of smartphone retail stores revealed the most influences on the purchase decision of Generation Z's smartphone products in Mueang Chiang Mai District was personal selling, followed by event marketing, direct marketing, sales promotion and public relations, respectively. This study was beneficial to smartphone retailers in planning appropriate as well as effective integrated marketing communications strategies of smartphone retail stores to increase purchase sales from Generation Z customers.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการen_US
dc.subjectร้านค้าปลีกen_US
dc.subjectสมาร์ทโฟนen_US
dc.subjectการตัดสินใจซื้อen_US
dc.subjectเจเนอเรชันแซดen_US
dc.titleอิทธิพลของการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการของร้านค้าปลีกผลิตภัณฑ์สมาร์ทโฟนต่อการตัดสินใจซื้อของเจเนอเรชันแซดในอำเภอเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeInfluence of integrated marketing communication of smartphone retail stores on purchasing decision among Generation Z in Mueang Chiang Mai Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการตลาด-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค-
thailis.controlvocab.thashเจนเนอเรชันแซด-
thailis.controlvocab.thashสมาร์ทโฟน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่องอิทธิพลของการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการของร้านค้าปลีกผลิตภัณฑ์สมาร์ทโฟนต่อการตัดสินใจซื้อของเจเนอเรชันแซดในอำเภอเมืองเชียงใหม่ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้บริโภคเจเนอเรชันแซด ที่เกิดระหว่างปีพ.ศ. 2538-2552 อาศัยอยู่ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ เคยซื้อผลิตภัณฑ์สมาร์ทโฟนเครื่องใหม่ ที่มีระบบปฎิบัติการ Android หรือ IOS เป็นจำนวนอย่างน้อย 1 ครั้งก่อนการตอบแบบสอบถามภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี โดยทำการซื้อในช่องทางหน้าร้านค้าปลีกผลิตภัณฑ์สมาร์ทโฟน จำนวน 300 ราย ด้วยแบบสอบถามออนไลน์ โดยนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีการศึกษาในระดับต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. มีรายได้เฉลี่ย 1-5,000 บาทต่อเดือน ใช้สมาร์ทโฟนที่ช่วงราคา 10,001-15,000 บาท เหตุผลในการเปลี่ยนหรือซื้อสมาร์ทโฟน คือ เครื่องเดิมเสียใช้การไม่ได้ และผู้มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสมาร์ทโฟน คือ ตนเอง มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการของร้านค้าปลีก และระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการตัดสินใจซื้อในระดับเห็นด้วย การสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการของร้านค้าปลีกที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์สมาร์ทโฟนของเจเนอเรชันแซดในอำเภอเมืองเชียงใหม่มากที่สุด คือ ด้านการขายโดยพนักงานขาย รองลงมาคือ ด้านการตลาดเชิงกิจกรรม ด้านการตลาดทางตรง ด้านการส่งเสริมการขาย และด้านการประชาสัมพันธ์ ตามลำดับ การศึกษานี้เป็นประโยชน์ต่อร้านค้าปลีกผลิตภัณฑ์สมาร์ทโฟนในการใช้วางแผนกลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการของร้านค้าปลีกให้เหมาะสม มีประสิทธิภาพ และเพิ่มยอดขายจากการซื้อสมาร์ทโฟนของกลุ่มลูกค้าเจเนอเรชันแซดen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631532003-จาตุรนต์-เศรษฐเสถียร.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.