Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77903
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุภาวดี เพชรเกตุ | - |
dc.contributor.author | จิ้ง เหอ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-12-06T10:52:31Z | - |
dc.date.available | 2022-12-06T10:52:31Z | - |
dc.date.issued | 2022-10-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77903 | - |
dc.description.abstract | This study aims to study the forms and functions of Ban Guan pottery. To know the knowledge and wisdom of Lanna traditional pottery production. This study was conducted by using the qualitative research methodology. The data were collected from both documentary materials and involving people by interviewing and observing. The result shows that Ban Guan Community is a traditional community where the potteries have been long being produced. It also passes on the culture and knowledge of pottery from one generation to the next through by female potters. Ban Guan's potterries has been well-known for a long time. Pottery products that are still available at present can be classified into 30 forms. Each form has different components, and each component has different characteristics. Every form of pottery has 3 main parts, namely the mouth, the body and the bottom. There are various colors and patterns that are relevant to the present era on the Pottery. Forms of pottery are diverse according to their roles and functions that related to the local culture. Local culture which still reflect the way of life in Lanna society. Ban Guan Potteries have 2 key types of roles, namely (1) the role and function in daily life, and (2) the roles in culture and society. The latter includes the roles of ceremonies and traditional customs, local cultural, aesthetic, and economic aspects. Ban Guan pottery is a folk art, a local handicraft and a local wisdom that should be preserved and inherited to be with the Lanna land forever. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | เครื่องปั้นดินเผา | en_US |
dc.subject | บ้านกวน | en_US |
dc.subject | บทบาทหน้าที่ | en_US |
dc.subject | ภูมิปัญญาท้องถิ่น | en_US |
dc.subject | เชียงใหม่ | en_US |
dc.title | รูปแบบและบทบาทหน้าที่ของเครื่องปั้นดินเผาชุมชนบ้านกวน ตำบลหารแก้ว อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Forms and Roles of Pottery at Ban Guan Community Han Kaew Sub-district, Hang Dong District, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | เครื่องปั้นดินเผา -- หางดง (เชียงใหม่) | - |
thailis.controlvocab.thash | ภูมิปัญญาชาวบ้าน -- หางดง (เชียงใหม่) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาเรื่อง “รูปแบบและบทบาทหน้าที่ของเครื่องปั้นดินเผาชุมชนบ้านกวน ตำบลหารแก้ว อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่”มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและหน้าที่ใช้สอยของเครื่องปั้นดินเผาบ้านกวน การศึกษาครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลทั้งจากเอกสารและภาคสนาม โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์และการสังเกตการณ์ ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนบ้านกวนเป็นชุมชนดั้งเดิมที่มีการผลิตเครื่องปั้นดินเผา ทั้งยังคงวัฒนธรรมการสืบทอดองค์ความรู้ด้านเครื่องปั้นดินเผาจากรุ่งหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งผ่านช่างปั้นที่เป็นผู้หญิง เครื่องปั้นดินเผาของบ้านกวนมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักมาเป็นเวลายาวนาน ผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาที่ยังมีการผลิตในปัจจุบัน สามารถจำแนกได้ 30 รูปแบบ แต่ละรูปแบบจะมีส่วนประกอบไม่เหมือนกัน เครื่องปั้นดินเผาทุกประเภทมีองค์ประกอบหลัก 3 ส่วน คือ ปาก ลำตัว และก้น มีสีสันและลวดลายต่าง ๆ บนผลิตภัณฑ์ที่เข้ากับยุคปัจจุบัน รูปแบบเครื่องปั้นดินเผามีความหลากหลายตามบทบาทหน้าที่ที่สัมพันธ์กับวัฒนธรรม สะท้อนถึงวิถีชีวิตในสังคมล้านนา บทบาทหน้าที่สำคัญของเครื่องปั้นดินเผาบ้านกวนมี 2 ประการ ได้แก่ บทบาทหน้าที่ด้านการใช้สอยในชีวิตประจำวัน และบทบาทหน้าที่ในสังคมและวัฒนธรรม สำหรับบทบาทหน้าที่ในสังคมและวัฒนธรรม ประกอบด้วยบทบาทด้านพิธีกรรมประเพณี ด้านสังคมวัฒนธรรมพื้นบ้าน ด้านสุนทรียะ และด้านเศรษฐกิจ เครื่องปั้นดินเผาบ้านกวนเป็นงานศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านและเป็นสิ่งแสดงภูมิปัญญาท้องถิ่น ควรได้รับการอนุรักษ์และสืบทอดให้อยู่คู่กับดินแดนล้านนาสืบไป | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620131006-จิ้ง เหอ.pdf | 16.11 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.