Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77893
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิชญา พูลลาภ | - |
dc.contributor.advisor | ดนัย บุณยเกียรติ | - |
dc.contributor.author | พิมลพัชร ดิระพันธ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-22T10:58:50Z | - |
dc.date.available | 2022-11-22T10:58:50Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77893 | - |
dc.description.abstract | The broccoli respiration after harvest is high leads to rapidly senescence primary expressed as yellowing of the florets. Therefore, postharvest handling, especially rapid cooling is an important factor affecting the shelf life of broccoli. The yellowing of floret of broccoli is a limiting factor in the shelf-life of broccoli florets and commonly associated with nutritional and commercial value of broccoli during storage. Moreover, broccoli grown in highland, Chiang Mai, Thailand, which is tropical country resulted in average of five days shelf life at 8 : 1 C. The color change of the florets from green to yellow directly affects consumer acceptance. Precooling and temperature management are widely used to prolong shelf life of fruits and vegetables. The goal of this study aimed at investigating effect of ice and vacuum cooling on qualities and shelf life of broccoli throughout the supply chain. Copyright@ by Chiang Mai University Three experiments were conducted in this study. In the experiment 1, first the optimum condition using ice cooling (1:1, 2:1 and 3:1 in the ratio of ice to weight of broccoli) and vacuum cooling method (6 and 6.5 mbar holding pressure with 10, 15, 20, 25 and 30 minutes holding time) were investigated. The optimum condition of ice cooling in which the ratio of ice to broccoli was 1:1. Optimum condition for vacuum cooling of broccoli was 0.6 kPa holding pressure with 30 min holding time. The study illustrated that both precooling techniques could reduce broccoli core temperature from initial temperature of 21-23 C to the final temperature of 4 + 1C. Weight loss of broccoli precooled by ice cooling and vacuum cooling accounted to 1.08 % and 1.69 % which were significanlly (P0.05) lower than 2.13 % of control sample. For second experiment, the effect of ice cooling and vacuum cooling on physico-chemical qualities and microorganism of broccoli after precooled were examined. After 5 day, it was found that ice cooling and vacuum cooling reduced weight loss percentage compared with control treatment. Likewise, slow down the decomposition of color values consist of lightness, hue angle and chroma value. Notably, the higher contents of vitamin c, total chlorophylls content and antioxidant activity as well as total phenolics content in vacuum and ice cooling pretreated samples could be attributed to precooling. This resulted cause to resist of microorganisms during storage and ultimately leads to a longer shelf life. The third experiment explored the effect of ice cooling and vacuum cooling on physico-chemical qualities, microorganism, sensory quality and shelf life of broccoli throughout the supply chain. Results indicated that precooling treatment of broccoli maintained the quality in terms of physico-chemical, showed the high vitamin c content, total chlorophylls content and antioxidant activity along with total phenolics content. Also, inhibited yellowing of florets that bring about to high sensory evaluation scores covering microbiological and enhanced the shelf-life. The ice cooling was the most effective method for extending the shelf life of postharvest broccoli form 5 to 12 days at 8+ 1 ㆍC and 85% RH, improving the produce market window. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | การประยุกต์เทคโนโลยีการลดอุณหภูมิในการผลิตบรอกโคลีเพื่อรักษาคุณภาพตลอดสายโซ่อุปทาน | en_US |
dc.title.alternative | Application of precooling technology on Broccoli production to maintain qualities throughout the supply chain | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.thash | บรอกโคลี | - |
thailis.controlvocab.thash | บรอกโคลี -- เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารงานโลจิสติกส์ -- เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | บรอกโคลีเป็นผักที่มีอัตราการหายใจสูง ทำให้ดอกที่เก็บเกี่ยวมาเปลี่ยนเป็นสีเหลืองเร็ว ดังนั้น การจัดการหลังจากการเก็บเกี่ยว โดยเฉพาะการลดอุณหภูมิผลิตผลทันทีจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อ อายุการเก็บรักษาของบรอกโคลี การเปลี่ยนสีของดอกบรอกโคลี เป็นเกณฑ์ในการหมดอายุการเก็บ รักษา บรอกโคลีที่ทำการศึกยาในงานวิจัยครั้งนี้ เป็นบรอกโคลีที่ปลูกบนพื้นที่สูงในจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย ซึ่งเป็นเขตเมืองร้อน ส่งผลให้บรอกโคลีมีอายุการเก็บรักษาที่สั้น ซึ่งโดยปกติแล้วมีอายุ การเก็บรักษาเฉลี่ยประมาณ 5 วัน ที่อุณหภูมิ 8 : 1 *C ซึ่งการที่บรอกโคลีมีการเปลี่ยนสีของดอกจากสี เขียวไปเป็นสีเหลือง ส่งผล โดยตรงต่อการยอมรับของผู้บริโภค ดังนั้นการลดอุณหภูมิก่อนการเก็บ รักษาจึงเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการจัดการกับผลิตผลภายหลังจากการเก็บเกี่ยว ส่งผลให้ ผลิตผลมีคุณภาพและอายุการเก็บรักษาที่ยาวนานขึ้นการศึกษางานวิจัยนี้ ประกอบด้วย 3 การทดลอง การทดลองแรกเป็นการศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมในการลดอุณหภูมิของบรอกโคลีด้วยการลดอุณหภูมิแบบใช้น้ำแข็ง (กำหนดอัตราส่วนบรอกโคลี : น้ำเข็ง คือ 1:1, 2:1 และ 3:1) และแบบสุญญากาศ (กำหนดความดันที่ 6 และ 6.5 มิลลิบาร์และระยะเวลานาน 10, 15, 20, 25 และ 30 นาที) จากผลการทดลองที่ได้ สภาวะที่เหมาะสมในการลดอุณหภูมิแบบใช้น้ำแข็งของบรอกโคลี คือการใช้อัตราส่วนบรอกโคลี : น้ำแข็ง โดยน้ำหนัก ที่อัตราส่วน 1:1 สำหรับสภาวะที่เหมาะสมในการลดอุณหภูมิแบบสูญญากาศ คือที่ความดัน 6 มิลลิบาร์โดยกำหนดระยะเวลาที่ผลิตผลอยู่ภายใต้ความดันนี้นาน 30 นาที ซึ่งที่สภาวระดังกล่าวมานี้สามารถลด อุณหภูมิแกนกลางของบรอกโคลี ที่มีอุณหภูมิเริ่มต้นประมาณ 21-23 องศาเซลเซียส จนมีอุณหภูมิ สุดท้ายตามที่กำหนดคือ 4 + 1*C บรอกโคลีที่ผ่านการถดอุณหภูมิแบบใช้น้ำแข็งและแบบสุญญากาศมี เปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้ำหนัก 1.08 % และ 1.69 % ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ บรอกโคลีที่ไม่ผ่านการถดอุณหภูมิ (ชุดควบคุม ที่มีการสูญเสียน้ำหนักเท่ากับ 2.13 % การทดลองที่ 2 เป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมีกายภาพ และจุลินทรีย์ของ บรอกโคลี หลังผ่านการลดอุณหภูมิแบบใช้น้ำแข็งและแบบสุญญากาศ จากผลการทคลองพบว่า ภายหลังจาก 5 วันของการเก็บรักษา บรอกโคลีที่ผ่านการลดอุณหภูมิแบบใช้น้ำแข็งและแบบ สุญญากาศสามารถลดการสูญเสียน้ำหนักสดของบรอกโคลีได้ดีกว่าบรอกโคลีที่ไม่ผ่านการลด อุณหภูมิ (ชุดควบคุม) อีกทั้งชะลอการเปลี่ยนแปลงสีของบรอกโคลี ซึ่งรวมถึงค่าความสว่าง ค่า hue angle และค่า chroma นอกจากนั้นยังคงไว้ซึ่งปริมาณของวิตามินซี ปริมาณคลอโรฟิลล์ทั้งหมด และ ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระ ตลอดจนปริมาณสารประกอบฟินอล ซึ่งการคงไว้ของปริมาณวิตามินซี ปริมาณคลอโรฟิลล์ทั้งหมด ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระและปริมาณสารประกอบฟืนอล นำไปสู่การ ต้านการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ในระหว่างการเก็บรักยา ซึ่งมีผลทำให้อายุการเก็บรักษายาวนานขึ้น สำหรับการทดลองที่ 3 ศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมีกายภาพ จุลินทรีย์ ประสาท สัมผัสและอายุการเก็บรักษาของบรอกโคลีหลังผ่านการลดอุณหภูมิแบบใช้น้ำแข็งและแบบ สุญญากาศตลอดสายโซ่อุปทาน ซึ่งจากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า บรอกโคลีที่ผ่านการลดอุณหภูมิ แบบใช้น้ำแข็งและแบบสูญญากาศ สามารถรักษาคุณภาพทางเคมีกายภาพของบรอกโคลีไว้ได้ โดยสามารถชะลอการสูญเสียน้ำหนักสดของบรอกโคลี ชะลอการเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนสีของดอกจากสี เขียวเป็นสีเหลือง อีกทั้งสามารถรักษาปริมาณวิตามินซี ปริมาณคลอโรฟิลล์ทั้งหมด ปริมาณสารต้าน อนุมูลอิสระและปริมาณสารประกอบฟินอลได้นานกว่าบรอกโคลีที่ไม่ผ่านการลดอุณหภูมิ (ชุดควบคุม) ส่งผลให้ได้รับคะแนนจากการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสในด้านต่างๆ ใน เกณฑ์ที่สูง ซึ่งจากการทคลองพบว่า การลดอุณหภูมิแบบใช้น้ำแข็งสามารถยืดอายุการเก็บรักษาของ บรอกโคลีหลังจากการเก็บเกี่ยว จาก 5 วัน เป็น 12 วันได้ ซึ่งสามารถช่วยให้ผลิตผลยังคงความสด มี คุณภาพ คงคุณค่าทางอาหารและรสชาติไว้ได้ดี ซึ่งจะทำให้ผลิตผลมีราคาและช่วยลดการสูญเสียหลัง การเก็บเกี่ยว | en_US |
Appears in Collections: | AGRO: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
591331010 พิมลพัชร ดิระพันธ์.pdf | 13.36 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.