Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77888
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ตุลยา ตุลาดิลก | - |
dc.contributor.author | เป็งห่าน | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-21T10:35:48Z | - |
dc.date.available | 2022-11-21T10:35:48Z | - |
dc.date.issued | 2022-10-17 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77888 | - |
dc.description.abstract | This independent study aimed to investigate relationship between other comprehensive income and earnings quality of listed companies in Agro and Food Industry of the Stock Exchange of Thailand. The study was based upon the secondary data, including the financial reports of 40 listed company in Agro and Food Industry of the Stock Exchange of Thailand. Data obtained were analyzed by the descriptive statistics: maximum value, minimum value, arithmetic mean, and standard deviation. The analysis of relationship between other comprehensive income and earnings quality was also conducted through the inferential statistics: correlation coefficients and multiple linear regression in accordance with the Panel Data Analysis. Dependent variables were identified according to the Bradshaw et all (1999)’s earnings quality as measured from accruals; the independent variables were the 5 components of other comprehensive income; and the controlled variables were size of enterprise, book-to-market ratio, and debt-to-equity ratio. The findings revealed that the gains and losses on translating financial statement of overseas business performance and the gains and losses as resulted from the effectiveness of hedging instrument for cash flow hedge correlated with the earnings quality as measured from accruals of working capital in the same direction. In contrast, the change in revaluation surplus corrected with the earnings quality as measured from accruals of working capital and total net operating accruals in opposite direction. As well as the re-valuation of the defined benefit obligation corrected with the earnings quality as measured from total net operating accruals in opposite direction. However, neither gains and losses as resulted from the available-for-sale-investments valuation correlated with the earnings quality as measured from accruals of working capital and total net operating accruals. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ความสัมพันธ์ระหว่างรายการกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ | en_US |
dc.subject | คุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนกลุ่มธุรกิจเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร | en_US |
dc.subject | ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างรายการกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นกับคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนกลุ่มธุรกิจเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Relationship between other comprehensive income and earnings quality of listed companies in Agro and Food Industry of The Stock Exchange of Thailand | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | - |
thailis.controlvocab.thash | อุตสาหกรรมอาหาร | - |
thailis.controlvocab.thash | กำไร | - |
thailis.controlvocab.thash | งบการเงิน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรายการกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นกับคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนกลุ่มธุรกิจเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยศึกษาข้อมูลทุติยภูมิจากรายงานทางการเงินของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มธุรกิจเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร ระหว่างปี พ.ศ. 2558 – 2562จำนวน 40 บริษัท และนำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน รวมถึงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างรายการกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นกับคุณภาพกำไรผ่านสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ค่าการถดถอยพหุคูณด้วยวิธี Panel Data Analysis โดยมีตัวแปรตาม ได้แก่ คุณภาพกำไรที่วัดด้วยวิธีรายการคงค้างตามงานวิจัยของ Bradshaw et al. (1999) ตัวแปรอิสระ ได้แก่ รายการกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ทั้ง 5 องค์ประกอบ และตัวแปรควบคุม ได้แก่ ขนาดกิจการ อัตราส่วนมูลค่าตามบัญชีต่อมูลค่าตลาด และอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของเจ้าของ ผลจากการศึกษาพบว่า ผลกำไรและขาดทุนจากการแปลงค่างบการเงินของการดำเนินงานในต่างประเทศ และส่วนของผลกำไรและขาดทุนที่มีประสิทธิผลจากเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงในการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับคุณภาพกำไรที่วัดด้วยวิธีรายการคงค้างจากเงินทุนหมุนเวียน ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับคุณภาพกำไรที่วัดด้วยวิธีรายการคงค้างจากเงินทุนหมุนเวียน และวิธีรายการคงค้างจากการดำเนินงานสุทธิ และการวัดมูลค่าใหม่ของโครงการผลประโยชน์ที่กำหนดไว้ มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับคุณภาพกำไรที่วัดด้วยวิธีรายการคงค้างจากการดำเนินงานสุทธิ ทั้งนี้ผลกำไรและขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพกำไรที่วัดด้วยวิธีรายการคงค้างจากเงินทุนหมุนเวียน และวิธีรายการคงค้างจากการดำเนินงานสุทธิ | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621532109_เป็งห่าน.pdf | 2.53 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.