Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77862
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพักตร์วิภา สุวรรณพรหม-
dc.contributor.advisorศิริตรี สุทธจิตต์-
dc.contributor.authorวุฒิประกร หล้าอี่en_US
dc.date.accessioned2022-11-13T03:56:26Z-
dc.date.available2022-11-13T03:56:26Z-
dc.date.issued2022-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77862-
dc.description.abstractThis study was a cross-sectional analytical study. The objectives were to find job characteristics for pharmacist’s responsibilities in primary care service, and pharmacist workload for each job and to study the workload for pharmacist workforce according to the context of contracting unit for primary care (CUP). The study was conducted in all 24 primary care unit of the CUPs all around Chiang Mai. The data were collected primarily by a data collection form. Additional data was gathered partially form a secondary data at Chiang Mai Provincial Health Office. Data were collected during April-June 2021 and were analyzed by descriptive and analytical statistics. The study results revealed that in Chiang Mai, the service areas of the CUPs were in both plain and remote areas. 79.17% of the CUPs was under an F-level-community hospital. Most of the primary care unit (PCU)’s size was at level M. Average number of PCUs under a CUP was 11.67. The province had overall 93 pharmacists who worked in primary care services. Only 5 pharmacists worked full-time and stationed at the PCU. Most of them, (37.50% ) contributed 2 day/ week workhour for primary care services. Pharmacists performs 7 jobs in primary care services, namely: ( 1) Management of pharmaceuticals, ( 2) Drug delivery and advice on drug use, ( 3) Pharmaceutical care in primary care unit, (4) Continuous care in community (5), Consumer health protection, (6) Promoting use of herbal and traditional Thai medicines, and (7) Administration and supervision on primary care service. Pharmacists provided primary care services differently depending on the CUP context, and available pharmacist workforce. Primary care pharmacists spent the largest portion of time on drug delivery and counselling. An average FTE of pharmacists in completing their primary care task was 1.05, with a range of 0.25FTE-4.72FTE. An F-levelcommunity hospital required approximately 1 FTE of pharmacists for proving all 7 tasks of primary care services, whereas an A-level provincial hospital required approximately 4 FTE. The CUP characteristics factors significantly affecting the median workload were the number of elderly people (p= 0.01) and the number of drug stores, clinics and factories in the area (p= 0.03) . In conclusion, the number of primary care pharmacist, that is allocated for 1 person per 1 CUP, is insufficient and irrelevant for achieving the desired medical services for primary care. Thus, the CUP characterization factors must be used as an additional criterion for assigning the number of pharmacist workforce for ensuring sufficient personnel for the jobs and for continuously improvement of their survices as stated in the goals of primary health care.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleงานและอัตรากำลังเภสัชกรงานปฐมภูมิในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeWorkload and workforce of primary care pharmacists in Chiang Mai provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเภสัชกร -- อัตรากำลัง-
thailis.controlvocab.thashบุคลากรทางการแพทย์-
thailis.controlvocab.thashบริการทางการแพทย์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อหา ลักษณะงาน ปริมาณงานและอัตรากำลังเภสัชกรรมปฐมภูมิของเภสัชกร และเพื่อศึกษาอัตรากำลังของ เภสัชกรตามลักษณะปัจจัยด้านลักษณะของ คพ.สอ. ทำการศึกษาในหน่วยบริการปฐมภูมิทั้ง 24 คพ. สอ. ในจังหวัดเชียงใหม่ ผู้ทำการศึกษาเก็บข้อมูล โดยใช้แบบเก็บข้อมูล และใช้ข้อมูล ปี 2562 สำหรับ คิดค่าปริมาณงาน เก็บข้อมูลในช่วงเดือนเมษายน ถึง มิถุนายน ปี 2564 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิง พรรณนาและสถิติเชิงวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า คพ.สอ. ในจังหวัดเชียงใหม่มีทั้งพื้นที่ปกติและพื้นที่ทุรกันดาร ส่วน ใหญ่ ร้อยละ 79.17 มีศักยภาพของโรงพยาบาลแม่ข่ายเป็นโรงพยาบาลชุมชนระดับ F ขนาด รพ.สต. ลูกข่ายส่วนใหญ่เป็นระดับ M มีจำนวน รพ.สต. ลูกข่ายเฉลี่ย 11.67 ทั้งจังหวัดมีเกสัชกรปฏิบัติงาน ปฐมภูมิ 93 คน และมีเพียง 5 คน ที่ปฏิบัติงานอยู่ประจำที่ รพ.สต. ส่วนใหญ่ร้อยละ 37.50 ออก ปฏิบัติงานปฐมภูมิ 2 วันต่อสัปดาห์ และออกปฏิบัติงานเป็นเวลา 5 ถึง 8 ชั่วโมงต่อวัน งานเภสัชกรรม ปฐมภูมิที่เกสัชกรออกปฏิบัติงานนั้นมีทั้งหมด 7 งาน ได้แก่ 1. งานบริหารเวชภัณฑ์ 2, งานส่งมอบยา และแนะนำการใช้ยา 3. งานบริบาลเกสัชกรรมในหน่วยปฐมภูมิ 4. งานจัดระบบดูแลต่อเนื่องใน ชุมชน 5. งานคุ้มครองผู้บริโภค 6. งานด้านสมุนไพร และ 7. งานบริหารและนิเทศติดตามงานเกสัช กรรมปฐมภูมิ ซึ่ง คพ.สอ. แต่ละแห่งก็ปฏิบัติงานแตกต่างกันออกไปตามบริบทพื้นที่และกำลังคนที่มี อยู่ ปริมาณงานมากที่สุด คือ งานส่งมอบยาและแนะนำการใช้ยา ค่ามัธยฐานปริมาณงานเฉลี่ยทั้ง จังหวัด คือ 1.05FTE (ค่าต่ำสุด 0.25FTE - ค่าสูงสุด 4.72FTE) โดยใน โรงพยาบาลขนาด F จำนวน เภสัชกรปฐมภูมิที่ต้องการมีประมาณ 1 คน และเพิ่มเป็น 4 คนสำหรับโรงพยาบาลขนาด A ที่รับผิดชอบประชากรและพื้นที่ที่กว้างกว่า ปัจจัยทางด้านลักษณะ คพ.สอ. ที่มีผลต่อค่ามัธยฐาน ปริมาณงานทั้งหมดที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ จำนวนผู้สูงอายุ (p = 0.01) และ จำนวนร้านยา คลินิก และโรงงานในพื้นที่ (p = 0.03) จะเห็นได้ว่ากำลังคนที่ได้รับการจัดสรร 1 คน ต่อ 1 คพ.สอ. นั้นยังไม่เพียงพอและยังไม่สอดคล้องกับกับระบบบริการการแพทย์ที่พึงประสงค์ ดังนั้น การพิจารณากำลังคนปฐมภูมิควรต้องพิจารณาปัจจัยด้านลักษณะ คพ.สอ. เป็นเกณฑ์เพิ่มเติมในการ จัดสรรอัตรากำลังเกสัชกรในงานเกสัชกรรมปฐมภูมิ เพื่อจะมั่นใจได้ว่ามีกำลังคนที่เพียงพอสำหรับการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาระบบการทำงานอย่างต่อเนื่องตามเป้าประสงค์ของระบบสุขภาพปฐมภูมิต่อไปen_US
Appears in Collections:PHARMACY: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621031006 วุฒิประกร หล้าอี่.pdf3.71 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.