Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77855
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีวรา สุวรรณ | - |
dc.contributor.author | แคทรียา แวนเดอร์เซน | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-13T03:11:27Z | - |
dc.date.available | 2022-11-13T03:11:27Z | - |
dc.date.issued | 2022-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77855 | - |
dc.description.abstract | Expanded Polystyrene (EPS) foam wastes become a huge environmental issue as most of them are non-biodegradable materials and are disposed of inappropriately. It was reported that the amount of plastic and foam wastes for food containers and other packaging was evidently increased during the past 5 years, especially since the COVID19 pandemic. This work studied the development of the polymeric foam binder from the EPS foam waste and sand for the production of green construction blocks or pavement tiles. The types of solvent (acetone and toluene) and the amount of additional EPS foam binder to sand were investigated. The results show that the appropriate mixtures of EPS-to-sand of around 15:85 and 30:70 by weight could achieve a maximum compressive strength of approximately 10 to 12 MPa with the optimal unit weight of 1,600 to 1,900 kg/m3. Those outcomes have equally passed the strength class of Thai Industrial Standard (TIS 57 and 77) for construction brick and block. This eco-friendly technique could facilitate value-added production and reduce the environmental impact of EPS wastes disposal. Moreover, it is one of the alternative approaches to promote greener and cleaner production for environmentally friendly construction materials. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Cleaner production | en_US |
dc.subject | Expanded Polystyrene Foam(Polymeric Binder) | en_US |
dc.subject | Acetone | en_US |
dc.subject | Toluene | en_US |
dc.subject | Construction Block | en_US |
dc.title | การพัฒนาวัสดุเชื่อมประสานโพลิเมอร์จากโฟมโพลิสไตรีนขยายตัวเหลือทิ้งสำหรับวัสดุในการก่อสร้าง | en_US |
dc.title.alternative | Development of polymeric binder from waste expanded polystyrene foam as construction materials | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.thash | วัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง | - |
thailis.controlvocab.thash | โพลิสไตรีน | - |
thailis.controlvocab.thash | โพลิเมอร์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ขยะจากโฟมโพลิสไตรีน (EPS) แบบขยายตัวนั้นกลายเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมครั้งใหญ่ เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นวัสดุที่ไม่สามารถย่อยสลายได้เองทางชีวภาพและถูกกำจัดอย่างไม่เหมาะสม โดยมีรายงานว่าปริมาณขยะพลาสติกและโฟมสำหรับบรรจุภัณฑ์อาหารและบรรจุภัณฑ์อื่น ๆ มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งตั้งแต่เกิดการระบาดของโควิด-19 โดยในงานนี้ได้ศึกษาและพัฒนาวัสดุเชื่อมประสานจากขยะโฟม EPS และทรายสำหรับการผลิตบล็อกก่อสร้างหรือแผ่นปูพื้น โดยทำการละลายโฟมโพลิสไตรีนเหลือทิ้งในอะซิโตนและโทลูอีน แล้วนำไปผสมกับทรายตามปริมาณที่เหมาะสม ผลการวิจัยพบว่าที่สัดส่วนของ EPS ต่อทรายอยู่ที่ 15:85 และ 30:70 โดยน้ำหนัก วัสดุตัวอย่างสามารถรับกำลังอัดสูงสุดได้ประมาณ 10 ถึง 12 MPa โดยมีน้ำหนักต่อหน่วยอยู่ในช่วง 1,600 ถึง 1,900 กก./ลบ.ม. โดยผลลัพธ์ได้ผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไทย (มอก. 57 และ 77) เทียบเท่าอิฐก่อสร้างและบล็อกก่อสร้าง จากข้อมูลการทดสอบดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่ากระบวนการนำกลับมาใช้ใหม่ของโฟม EPS เหลือทิ้งนี้ เป็นเทคนิคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยเพิ่มมูลค่าแก่ของที่เหลือทิ้ง และมีกำลังที่ดีพอสำหรับนำไปใช้ในงานประเภทอิฐหรือบล็อกก่อสร้างได้ | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630631005-แคทรียา-แวนเดอร์เซน.pdf | 12.79 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.