Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77851
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรทัศน์ อินทรัคคัมพร | - |
dc.contributor.advisor | ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล | - |
dc.contributor.advisor | แสงทิวา สุริยงค์ | - |
dc.contributor.author | อาจรีย์ วันเมือง | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-10T18:48:15Z | - |
dc.date.available | 2022-11-10T18:48:15Z | - |
dc.date.issued | 2564-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77851 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were to study 1) the socio-economic of farmers producing organic rice in Chiang Mai Province; 2) analyze farmers' needs of organic rice production extension in Chiang Mai province; and 3) analyze factors having relationships with farmers' needs of organic rice production extension in Chiang Mai province. The sample were 183 farmers who joining the project on the extension of organic rice production in Chiang Mai province. Data collection using interviewing. Statistical techniques used were frequency, mean, percentage, maximum value, minimum value, and standard deviation. Besides, stepwise multiple regression analysis was conducted for hypothesis testing. From research findings, it was found that the majority of respondents were male, 54.26 years old average, elementary school graduates and they had an experience in organic rice growing for 7.86 years on average. Each of the informant had and area for organic rice growing for 7.18 rai on average. Regarding the allocation of organic rice yields, it was found that most of the informants kept some of their rice yields for household consumption and the surplus was sold. The water supply for organic rice production was mostly from irrigation (4,090.01 kg per year in 2019-2020 with an income of 32,631.13 baht on average). Most of the informants spent their owe capital for organic rice production with 3.81 workforce on average. They were members of an organic rice production group and they used to attend a training on organic rice production. It was found that the informants had a high level of needs for organic rice production (x̄ = 2.51). This included the following: knowledge about principle of organic rice production(x̄ = 2.57) ; extension of organic rice production method (x̄ = 2.42), respectively. Educational attainment, debts, and channels of organic farming perception had an cffect on needs for the extension of organic rice production of the farmers with a statistical significance level at 0.05 The problem of farmers from research findings, farmers still lack knowledge on organic fertilizers that are suitable for rice fields. The yield obtained from the organic conversion was low in the early stages of organic processing. Not enough water. Weeds were found in rice fields. Contaminants in rice fields caused by farming nearby. The staff lack continuous extension. The training of knowledge does not meet the needs of farmers. Including lack of support for agricultural equipment. Farmers recommend that there should be the training of knowledge on how to make appropriate organic fertilizers. That are suitable for rice fields. The stall' continuous extension and continue to find markets to buy products. And should be agricultural equipment support reduces production costs. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความต้องการการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Farmers’ needs of organic rice production extension in Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ข้าวอินทรีย์ – การปลูก | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้าวอินทรีย์ – การผลิต | - |
thailis.controlvocab.thash | เกษตรกร -- เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะพื้นฐานส่วนบุคคล เศรษฐกิจ และสังคม ของเกษตรกรผู้ผลิดข้าวอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่ 2) วิเคราะห์ความต้องการการส่งเสริมการผลิต ข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ และ 3) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความ ต้องการการส่งเสริมการผลิดข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การศึกษา คือ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 183 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการ วิจัยสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐาน โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์จังหวัด เชียงใหม่ ส่วนใหญ่เกษตรกรเป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 54.26 ปี มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับ ประถมศึกษา ประสบการณ์ปลูกข้าวอินทรีย์เฉลี่ย 7.86 ปี เกษตรกรมีพื้นที่ปลูกข้าวอินทรีย์ทั้งหมด เฉลี่ย 7.18 ไร่ การจัดสรรผลผลิตข้าวอินทรีย์ พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่จำหน่ายผลผลิตบางส่วน และเก็บไว้บริโภคบางส่วน แหล่งน้ำที่ใช้ส่วนใหญ่ใช้น้ำจากระบบชลประทาน ผลผลิดข้าวอินทรีย์ ที่ได้เฉลี่ยต่อไร่ ในปีการผลิต 2562/63 เฉลี่ย 552.42 กิโลกรัมต่อปี รายได้จากการผลิดข้าวอินทรีย์ ในปีการผลิต 2562/63 เฉลี่ย 32,631.13 บาทต่อปี เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้เงินทุนตนเองในการผลิด ข้าวอินทรีย์ มีจำนวนแรงงานที่ใช้ปลูกข้าวอินทรีย์เฉลี่ย 3.81 คน เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นสมาชิก กลุ่มผู้ผลิดข้าวอินทรีย์และเข้ารับการฝึกอบรมความรู้เกี่ยวกับข้าวอินทรีย์ ผลการวิเคราะห์ความ ต้องการการผลิตข้าวอินทรีย์ของกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการผลิดข้าว อินทรีย์จังหวัดเชียงใหม่ในภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก (x̄ = 2.51) โดยประกอบด้วย ความ ต้องการความรู้เกี่ยวกับหลักการการผลิตข้าวอินทรีย์อยู่ในระดับมาก (x̄ = 2.57) ความต้องการด้าน วิธีการส่งเสริมการผลิดข้าวอินทรีย์อยู่ในระดับมาก (x̄ = 2.55) และด้านความต้องการการสนับสนุน จากภาครัฐอยู่ในระดับมาก (x̄ = 2.42) ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการการ ส่งเสริมการผลิดข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ระดับการศึกษา ภาวะหนี้สิน และจำนวนช่องทางการรับรู้ข่าวสารด้านเกษตรอินทรีย์ ปัญหาของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวต่อความต้องการปลูกข้าวอินทรีย์ พบว่า เกษตรกรยังคงขาด ความรู้เรื่องการทำปุ๋ยอินทรีย์ที่เหมาะสมต่อสภาพแปลงนาข้าว ผลผลิตที่ได้จากการปรับเปลี่ยน มาทำแบบอินทรีย์ได้ผลผลิตน้อยในช่วงแรกของการทำแบบอินทรีย์ น้ำไม่เพียงพอ ปัญหาวัชพืชใน นาข้าว สารปนเปื้อนในแปลงข้าวที่เกิดจากการทำเกษตรบริเวณข้างเคียง เจ้าหน้าที่ขาดการส่งเสริม อย่างต่อเนื่อง การจัดอบรมความรู้ไม่ตรงต่อความต้องการของเกษตรกร รวมไปถึงการขาดการ สนับสนุนอุปกรณ์ทางการเกษตร ทั้งนี้เกษตรกรมีข้อเสนอแนะว่าควรมีการอบรมความรู้เรื่องการทำ ปุ๋ยอินทรีย์ที่เหมาะสมต่อสภาพแปลงนาข้าว การเข้าติดตามส่งเสริมและจัดหาดลาดรับซื้อผลผลิต อย่างต่อเนื่อง และการสนับสนุนอุปกรณ์ทางการเกษตรเพื่อลดต้นทุนในการผลิด | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610831047 อาจรีย์ วันเมือง.pdf | 3.02 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.