Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77850
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทศพล มูลมณี-
dc.contributor.advisorรักธรรม เมฆไตรรัตน์-
dc.contributor.authorวรัญญา ไชยกลen_US
dc.date.accessioned2022-11-10T18:44:04Z-
dc.date.available2022-11-10T18:44:04Z-
dc.date.issued2564-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77850-
dc.description.abstractThe short-term (7-day) progesterone (P4) -gonadotropin releasing hormone (GnRH) -prostaglandin F2α (PGF2α)-based synchronization and fixed-time artificial insemination (FTAI) protocol has been widely applied in dairy cattle farm for reproductive management. Although the first GnRH administration in this short-term protocol is required to induce new follicular wave initiation, only a few heifers ovulated in response to first GnRH injection. The aims of this experiment, therefore, were to 1) study the necessity of the first GnRH treatment at the time of initiation of the 7-day P4- GnRH- PGF2α-based synchronization protocol on follicular dynamics and 2) evaluate the effect of ovarian cyclicity (appearing or disappearing corpus luteum [CL] on ovary) prior to the start of ovulation synchronization on fertility in replacement dairy heifers submitted to the FlAI protocol. In experiment 1, 29 heifers were divided into three groups: control (no synchronization; n=10), No-first GnRH (n=9), and Yes-first GnRH (n=10) groups. Heifers in the control group that did not receive the 7-day P4-GnRH- PGF2α -based synchronization protocol were evaluated follicular dynamics throughout the interovulatory interval. In the Yes- and No-first GnRH groups. heifers received the 7-day P4-GnRH- PGF2α -based synchronization protocol (on day 0, controlled internal drug release device [CIDR] insert was administrated; on day 7, CIDR was removed and PGF2α was injected; and on day 9, final GnRH was injected) with (Yes-first GnRH) or without (No-first GnRH) GnRH injection on day 0. The growth and ovulation of ovarian dominant follicle (DF) was wvaluated by transrectal ultrasound scanning. Blood samples were collected from each cow in the No- and Yes- first GnRH groups to analyze plasma P4 concentrations during CIDR insert and after CIDR removal. In experiment 2, 438 heifers were divided into three groups: control (No synchronization; n=195), No-first GnRH (n=105), and Yes-first GnRH (n=138) groups. Heifers in the control group that did not receive the hormonal synchronization protocol were inseminated upon detection of estrus. Heifers in the No- and Yes-first GnRH groups that received the 7-day P4-GnRH- PGF2α -based synchronization protocol were inseminated with FTAI on day 9. Moreover, heifers in the No- and Yes-first GnRH groups were sub-divided in 2 groups according to the appearance (+CL; n=191) or disappearance CL (-CL; n=52) on day of the initiation of ovulation synchronization (day 0). In results of experiment 1, estrous and ovulation rates did not differ (P > 0.05) among the control (100.00% and 100.00%), No-first GnRH (100.00% and 88.89%), and Yes-first GnRH (90.00% and 90.00%) groups. Heifers in the No- and Yes-first GnRH groups had a greater (P < 0.05) DF diameter at ovulation (14.55 ± 0.77 mm and 14.45 ± 0.46 mm), compared with cows in the control group (12.05 ± 0.22 mm). The plasma P4 concentrations during CIDR insert (> 1.00 ng/ml) and after CIDR removal (< 1.00 ng/ml) did not differ among treatment groups (P > 0.05). In results of experiment 2, estrous rate and pregnancy rates at days 32 and 60 after AI did not differ among heifers in the control (65.13%, 64.62%, and 62.56%, respectively), No-first GnRH (62.86%, 62.86%, and 58.10%, respectively), and Yes-first GnRH (60.87%, 60.87%, and 55.07%, respectively) groups. In the No-first GnRH, heifers that appeared a CL ( +CL) had greater (P < 0.01) estrous rate and pregnancy rates at days 32 and 60 after AI, compared with cows that disappeared a CL (-CL) on their ovaries (73.39% vs. 20.69%, 72.48% vs. 17.24%, and 65. 14% vs. 17.24%, respectively). In the Yes-first GnRH group, estrous rate, and pregnancy rates at days 32 and 60 after AI were greater (P < 0.01) in heifers having a CL (+CL) than cows that appeared a CL (-CL) on their ovaries (79.27% vs. 26.09%, 74.39% vs. 21.74%, and 68.29% vs. 21.74%, respectively). In conclusion, these results indicated the 7-day P4-GnRH-PGF2α based protocol without GnRH treatment at the initiation of ovulation synchronization had no negative effects on ovarian follicular development and fertility in replacement dairy heifers. Furthermore, replacement dairy heifers that appeared ovarian cyclicity prior to the start of FTAI with the 7-day P4-GnRH-PGF2α -based protocol had an increase in the rate of pregnancy.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการการสืบพันธุ์ด้วยโปรแกรมฮอร์โมนที่มีประสิทธิภาพสำหรับ การเหนี่ยวนำ การตกไข่และการผสมเทียมแบบกำหนดเวลา ในโคนมสาวทดแทนen_US
dc.title.alternativeReproductive management with effective hormonal protocol for synchronizing ovulation and fixed-time artificial insemination in replacement dairy heifersen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโคนม -- การสืบพันธุ์-
thailis.controlvocab.thashการสืบพันธุ์-
thailis.controlvocab.thashการตกไข่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโปรแกรมเหนี่ยวนำการตกไข่โดยใช้ฮอร์โมน progesterone (P4) ฮอร์โมน gonadotropin releasing hormone (GnRH) และฮอร์โมน prostaglandin F2α (PGF2a) เป็นฮอร์โมนพื้นฐาน แบบระยะสั้น (7 วัน) และกำหนดเวลาการผสมเทียม (fixed-time artificial insemination [FTAI]) ได้ถูกประยุกด์ใช้อย่างแพร่หลายในฟาร์มโคนมเพื่อใช้ในการจัดการการสืบพันธุ์ ถึงแม้ว่าการได้รับ ฮอร์โมน GnRH ครั้งที่ 1 ใน โปรแกรมเหนี่ยวนำการตกไข่ระยะสั้น มีความจำเป็นสำหรับ การเหนี่ยวนำให้เกิดคลื่นการพัฒนาของฟอลลิเคิลคลื่นใหม่บนรังไข่ แต่มีโคสาวเพียงเล็กน้อย ที่ตอบสนองต่อการฉีดฮอร์โมน GnRH ครั้งที่ 1 โดยเกิดการตกไข่ ดังนั้นการทคลองในครั้งนี้ มีวัดถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความจำเป็นของการใช้ฮอร์โมน GnRH ครั้งที่ 1 ณ เวลาที่เริ่มต้นโปรแกรม 7-day P4-GnRH-PGF2α ต่อการเปลี่ยนแปลงของฟอลลิเคิลบนรังไข่ และ 2) เพื่อประเมินอิทธิพลของ การมีวงรอบของรังไข่ (ปรากฎ หรือ ไม่ปรากฏ corpus luteum [CL] บนรังไข่) ก่อนเริ่มการเหนี่ยวนำ การตกไข่ต่อความสมบูรณ์พันธุ์ในโคนมสาวทดแทนที่ได้รับโปรแกรมกำหนดเวลาการผสมเทียม การทดลองที่ 1 โคนมสาวจำนวน 29 ตัว ถูกแบ่งเปืน 3 คือ กลุ่ม control (ไม่ได้รับโปรแกรมเหนี่ยวนำ การตกไข่ ; n=10) กลุ่มที่ ไม่ได้ (No-first GnRH; n=9) และกลุ่มที่รับฮอร์โมน GnRH ครั้งที่ 1 (Yes-first GnRH; n=10) โคนมสาวในกลุ่ม control ซึ่งไม่ได้รับไปรแกรม 7-day P4-GnRH- PGF2α และถูกประเมินการเปลี่ยนแปลงของฟอลลิเคิลตลอดช่วงระหว่างการตกไข่ (interovulatory interval) โคนมสาวในกลุ่ม No-first GnRH และ Yes-first GnRH ได้รับไปรแกรม 7-day P4-GnRH-PGF2 α (โดยในวันที่ 0 ได้รับฮอร์โมน P4 สังเคราะห์แบบ controlled internal drug release device [CIDR] สอดเข้าช่องคลอด และในวันที่ 7 จะทำการถอดฮอร์โมน CIDR พร้อมทั้งฉีดฮอร์โมน PGF2 α อีกทั้งในวันที่ 9 ทำการฉีดฮอร์โมน GnRH ครั้งสุดท้าย) ร่วมกับการฉีด (Yes-first GnRH) หรือ ไม่ฉีด ฮอร์โมน GnRH (No-first GRH) ในวันที่ 0 การเจริญเติบโตและ การตกไข่ของฟอลลิเคิลเด่น (dominant follicle (DF) บนรังไข่ ถูกประเมินโดยการอัลตร้าซาวรังไข่ผ่านทวารหนัก ตัวอย่างเลือด ถูกเก็บจากบริเวณโคนหางของโคนมสาวแต่ละตัว ทั้งในกลุ่ม No-first GnRH และ Yes-first GnRH เพื่อวิเคราะห์หาความเข้มข้นของ P4 ในพลาสมา ตั้งแต่ระหว่างการสอดฮอร์โมน CIDR และหลังถอด ฮอร์โมน CIDR การทคลองที่ 2 โคนมสาว จำนวน 438 ตัว ถูกแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุม (ไม่ได้ รับโปรแกรมเหนี่ยวนำการตกไข่; n=195) กลุ่ม No-first GnRH (n=105) และกลุ่ม Yes-first GnRH (n=-138) โดยโคนมสาวกลุ่มควบคุม ซึ่งไม่ได้รับ โปรแกรมฮอร์โมนสำหรับเหนี่ยวนำการตกไข่ และ ได้รับการผสมเทียมเมื่อตรวจพบการเป็นสัด ไคนมสาวกลุ่ม No-linst GnRH และกลุ่ม Yes-linst GnRH ได้รับไปรแกรม 7-day P4-GnRH-PGF2α และได้รับการผสมเทียมแบบกำหนดเวลาในวันที่ 9 นอกจากนี้ โคนมสาวกลุ่ม No-first GnRH และกลุ่ม Yes-first GnRH ถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อย 2 กลุ่ม ตามการปรากฏ (+CL; n=191) หรือ ไม่ปรากฏ CL(–CL; n=52) บนรังไข่ ในวันที่เริ่มต้นโปรแกรม เหนี่ยวนำการตกไข่ (วันที่ 0 ผลการทคลองที่ 1 พบว่า อัตราการเป็นสัดและอัตราการตกไข่ ไม่มีความแดกต่าง (P >0.05) ระหว่างกลุ่ม control (100.00% และ 100.00%) กลุ่ม No-first GnRH (100.00% และ 88.89%) และกลุ่ม Yes-first GnRH (90.00% และ 90.00%) โคนมสาวกลุ่ม No-first GRH และกลุ่ม Yes-first GnRH มีเส้นผ่านศูนย์กลางของ DF ที่เวลาตกไข่ (14.55 ± 0.77 มิลลิเมตร และ 14.45± 0.46 มิลลิเมตร ขนาดใหญ่มากกว่า (P <0.05) เมื่อเทียบกับโคนมสาวในกลุ่ม control (12.05 ± 0.22 มิลลิเมตร) ความเข้มขันของฮอร์โมน P4 ในพลาสมา ระหว่างการสอดฮอร์โมน CIDR (>1.00 ng/ml) และหลังจากการถอดฮอร์โมน CIDR (< 1.00 ng/ml) ไม่มีความแตกต่างกัน ระหว่างกลุ่มทดลอง (P > 0.05) ผลการทดลองที่ 2 อัตราการเป็นสัต และอัตราการตั้งท้องที่ 32 และ 60 วัน หลังการผสมเทียม ไม่มีความแตกต่างกัน (P > 0.05) ระหว่างโคนมสาวกลุ่ม control (65.13% 64.62%และ 62.56% ตามลำดับ) กลุ่ม No-first GnRH (62.86% 62.86%และ 58.10% ตามลำตับ) และกลุ่ม Yes-first GnRH (60.87% 60.87% และ 55.07%ตามลำคับ) โคนมสาว กลุ่ม No-first GnRH ที่ปรากฎ CL (+C1) บนรังไข่ มีอัตราการเป็นสัต และอัตราการตั้งท้อง ที่ 32 และ 60 วัน หลังการผสมเทียม มากกว่า (P <0.01) เมื่อเทียบกับโคนมสาวที่ไม่ปรากฏ CL(-CL) บนรังไข่ (73.39% เทียบกับ 20.69%, 72.48%เทียบกับ 17.24%และ 65.14%เทียบกับ 17.24% ตามลำดับ) ดังนั้นผลการศึกษาในครั้งนี้ ได้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรม 7-day P4-GnRH-PGF2α ที่ไม่มีการใช้ฮอร์โมน GnRH ครั้งที่ 1 ในวันที่เริ่มต้นเหนี่ยวนำการตกไข่ ไม่มีผลเชิงลบ ต่อการพัฒนาของฟอลลิเคิลบนรังไข่ และความสมบูรณ์พันธุ์ของโคนมสาวทดแทนฝูง ยิ่งกว่านั้น โคนมสาวทดแทนฝูงที่ปรากฎวงรอบของรังไข่ ก่อนเริ่มกำหนดเวลาการผสมเทียมด้วยโปรแกรม 7-day P4-GnRH-PGF2α มีการเพิ่มขึ้นของอัตราการตั้งท้องen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610831067 วรัญญา ไชยกล.pdf4.28 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.