Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77819
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูโชค อายุพงศ์-
dc.contributor.authorพัชรพงษ์ สาเขตร์en_US
dc.date.accessioned2022-11-05T08:29:07Z-
dc.date.available2022-11-05T08:29:07Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77819-
dc.description.abstractThe COVID-19 pandemic is a major cause of project construction delayed in the responsible area of Regional Irrigation Office 1 (RID 1). According to the situation, this study aims to find out any of the relating causes and problems. Implementation of quantitative statistical analysis method is used in the study. The Analysis of Variance analysis approach (ANOVA) is conducted toward three sampling groups, including RID1 office-based staff, RID1 field-based staff, and RID1 staff working on both bases. Rates of frequency and severity are also applied to analyze the level of risk impact. The finding of this study indicates that there are five most significant risks affecting the construction of Regional Irrigation Office 1 listed consecutively are 1) The 11.96 risk value of working termination caused by the pest within the area, 2) The 10.02 risk value of sick leave workers or the workers who are in the quarantine, and 3) The 9.92 risk value of putting the wrong man in the inappropriate job. 4) The 9.33 risk value of delaying resolubility 5) The 8.55 risk value of arriving from risking area quarantine. In summary, both overall impact and frequency of occurrence are at the fair or acceptable level, suggesting that better risk management should be provided and applied.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความล่าช้าen_US
dc.subjectโรคระบาดโควิด-19en_US
dc.subjectกรมชลประทานen_US
dc.titleผลกระทบจากโรคระบาดโควิด-19 ที่ส่งผลต่อความล่าช้าของงานก่อสร้างของสำนักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทานen_US
dc.title.alternativeThe effect of COVID-19 pandemic on the delayed construction project of Regional Irrigation office 1 of Royal Irrigation departmenten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการก่อสร้าง-
thailis.controlvocab.thashคนงานก่อสร้าง-
thailis.controlvocab.thashโควิด-19 (โรค) -- ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคระบาดโควิด-19 เป็นโรคระบาดที่เกิดขึ้นมาใหม่ซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่องานก่อสร้างของสำนักงานชลประทานที่ 1 จึงเป็นสิ่งที่ผู้ศึกษามีความมุ่งเน้นเพื่อที่ศึกษาปัญหาความล่าช้าจากโรคระบาดโควิด-19 การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่ผลกระทบจากโรคระบาดโควิด-19 ที่ส่งผลต่อความล่าช้าของงานก่อสร้างของสำนักงานชลประทานที่ 1 โดยใช้ค่าน้ำหนักความสำคัญและการวิเคราะห์ความแปรปรวน ANOVA (Analysis of Variance) ของกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม คือ กลุ่มพนักงานประจำสำนักงาน กลุ่มพนักงานภาคสนาม และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานทั้ง 2 ด้าน จากการศึกษาพบว่าความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับปัจจัยที่เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดความล่าช้ามีความแตกต่างกันในด้านความถี่กับความรุนแรงซึ่งตรงกันอยู่ 2 ปัจจัย คือ 1.การขนส่งวัสดุจากพื้นที่อื่น และ 2.ใช้คนงานที่สามารถมาทำงานได้ไม่เหมาะสมกับงาน แล้วนำค่าเฉลี่ยความถี่ ค่าเฉลี่ยความรุนแรง มาวิเคราะห์ค่าระดับความเสี่ยงของปัจจัย จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความล่าช้าในการก่อสร้างของสำนักงานชลประทานที่ 1 ที่อยู่ในเกณฑ์มีความเสี่ยงสูงทั้งหมด 9 ปัจจัย โดยปัจจัยที่ส่งผลกระทบมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ 1.มีโรคระบาดในพื้นที่ ทำให้ต้องหยุดการทำงาน มีค่าระดับความเสี่ยง 11.96 2.คนงานหยุดงานเมื่อมีอาการป่วย เฝ้าระวังดูอาการ มีค่าระดับความเสี่ยง 10.02 3.ใช้คนงานที่สามารถมาทำงานได้ไม่เหมาะสมกับงาน มีค่าระดับความเสี่ยง 9.92 4.กระบวนการแก้ไขแบบล่าช้ากว่าปกติ มีค่าระดับความเสี่ยง 9.33 5.การกักตัวเมื่อเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง มีค่าระดับความเสี่ยง 8.55 พบว่ามีผลกระทบที่มีต่อโครงการโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และมีความถี่โดยรวมอยู่ในระดับเกิดขึ้นปานกลาง มีความจำเป็นที่จะต้องบริหารความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620632041 พัชรพงษ์ สาเขตร์.pdf24.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.