Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77807
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นงค์คราญ วิเศษกุล | - |
dc.contributor.advisor | นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล | - |
dc.contributor.author | วรรณา ชื่นนอก | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-05T08:11:03Z | - |
dc.date.available | 2022-11-05T08:11:03Z | - |
dc.date.issued | 2564-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77807 | - |
dc.description.abstract | Multidrug-resistant organisms (MDROs) are a critical problem in healthcare systems globally. Medical units in university hospitals have reported a high incidence of MDROs infection and risk of transmission. Accurate knowledge and practices of nurses in preventing of MDROs transmission are crucial. This quasi-experimental research aimed to examine the effects of coaching on nurses' knowledge and practices in preventing MDROs transmission in a university hospital. This study was conducted during November 2020 to June 2021. The sample was 25 registered nurses working in the medical unit of a university hospital. The research instruments included a demographic data questionnaire, a knowledge test, a practice observational recording form, and a coaching plan for prevention of MDROs transmission. Data were analyzed using descriptive statistics, a t-test, a Chi-square test, and Fisher's exact test. The results of the study revealed that after implementing coaching, the participants significantly increased their knowledge scores on prevention of MDROs transmission compared with before implementation, from 14.32 to 16.88 points (p < .001), and the proportion of correct practices in prevention of MDROs transmission significantly increased compared with before implementation, from 69.62% to 89.76%(p <.001). The results of the study showed that coaching could improve knowledge and practices in prevention of MDROs transmission among nurses in the medical unit. Coaching should be implemented for enhancing knowledge and practices in prevention of MDROs transmission in other medical units. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ยาต้านจุลชีพ | en_US |
dc.title | ผลของการโค้ชต่อความรู้และการปฏิบัติในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนานในพยาบาลในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title.alternative | Effects of coaching on knowledge and practices in prevention of multidrug-resistant organism transmission among nurses in a university hospital | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | จุลชีพก่อโรค | - |
thailis.controlvocab.thash | สารต้านจุลชีพ | - |
thailis.controlvocab.thash | การดื้อยา | - |
thailis.controlvocab.thash | การติดเชื้อ | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้ป่วย – การรักษา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนานเป็นปัญหาที่สำคัญในระบบสาธารณสุขทุกประเทศทั่วโลก ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย พบอุบัติการณ์ติดเชื้อสูงและมีความเสี่ยงต่อการเกิด การแพร่กระจายเชื้อ ความรู้และการปฏิบัติที่ถูกต้องของพยาบาลในการป้องกันการแพร่กระจาย เชื้อดื้อยาต้านจุดชีพหลายขนานจึงมีความสำคัญ การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อศึกษาผล ของการโค้ชต่อความรู้และการปฏิบัติของพยาบาลในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ หลายขนานในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ดำเนินการวิจัยระหว่างเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2563 ถึงเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2564 กลุ่มตัวอย่าง คือพยาบาลปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถาม ข้อมูลทั่วไป แบบวัดความรู้ แบบบันทึกการสังเกตการปฏิบัติ และแผนการ โค้ชการป้องกันการ แพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบค่าที สถิติไคสแควร์ และฟิชเชอร์เอกแซคท์ ผลการศึกษาพบว่าหลังได้รับการโค้ช กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ในการ ป้องกันการ แพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนานมากกว่าก่อนได้รับการ โค้ชจาก 14.32 คะแนน เพิ่มสูงขึ้น เป็น 16.88 คะแนน ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และสัดส่วนการปฏิบัติในการ ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุดชีพหลายขนานที่ถูกต้องมากกว่าก่อนได้รับการโค้ช จากร้อยละ 69.62 เป็นร้อยละ 89.76 ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) การวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การโค้ชทำให้พยาบาลมีความรู้และการปฏิบัติในการป้องกันการ แพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนานในหอผู้ป่วยอายุรกรรมเพิ่มขึ้น จึงควรส่งเสริมให้มีการนำ รูปแบบการโค้ชไปใช้ในการเพิ่มพูนความรู้และทักษะการปฏิบัติในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนานในหอผู้ป่วยอายุรกรรมแห่งอื่น | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621231025 วรรณา ชื่นนอก.pdf | 1.58 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.