Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77805
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนงเยาว์ เกษตร์ภิบาล-
dc.contributor.advisorนงค์คราญ วิเศษกุล-
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ ศรีวิชัยen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T08:07:37Z-
dc.date.available2022-11-05T08:07:37Z-
dc.date.issued2564-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77805-
dc.description.abstractMultidrug-resistant organisms (MDROs) infection is a serious significant threat to public health. The patient is important for reducing MDROs infections. This quasi-experimental research aimed to study the effects of using a video media on knowledge and practices in prevention of MDROs among patients. .The sample consisted of 60 patients undergoing treatment in the medical units of a general hospital during March 2020 to June 2021. The sample was divided equally in two groups which consisted of the experimental group and the control group. The research instruments include the video media for MDROs infection prevention for patients, a demographic data questionnaire, a knowledge test, a practice observational recording form and a preventing MDROs infections of practice questionnaire, all of which were validated by six content experts. The content validity index of the knowledge test, the practice observational recording form and the preventing MDROs infections of practice questionnaire were 0.96, 0.96, and 0.98, respectively. The reliability of the knowledge test, the practice observation form and the practice questionnaire were 0.83, 1.00, and 0.93, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, t-test, Chi-square test, and Fisher's exact test. The research findings revealed that after receiving knowledge about prevention of MDROs infection from the video media, the experimental group had mean knowledge score increased from 19.77 to 24.20 out of 25 points (p <.001) which was higher than the control group with a knowledge score of 20.00 points (p < .001). The experimental group had mean practice score increased from 38.37 to 51.47 out of 54 points (p < .001), higher than the control group with a practice score of37.77 points (p < .001). The experimental group had correct practices percent increased from 17.47% to 94.80% (p = 003) which was higher than the control group, with a correct practice percent of 33.70% (p < .001). The results of the study showed that the video media about prevention of MDROs infection is effective to increase knowledge and practices in patients. This video should be implemented to promote knowledge and practices in prevention of MDROs infections in other hospitals.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectยาต้านจุลชีพen_US
dc.titleผลของการใช้สื่อวีดิทัศน์ต่อความรู้และการปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนานในผู้ป่วยในโรงพยาบาลทั่วไปen_US
dc.title.alternativeEffects of using a video media on knowledge and practices in prevention of multidrug-resistant organisms among patients in a general hospitalen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashจุลชีพก่อโรค-
thailis.controlvocab.thashสารต้านจุลชีพ-
thailis.controlvocab.thashการดื้อยา-
thailis.controlvocab.thashการติดเชื้อ-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วย – การรักษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนานเป็นภัยคุกคามที่สำคัญ ผู้ป่วยเป็นบุคคลหนึ่งที่มีส่วน สำคัญในการช่วยลดปัญหาการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนาน การศึกษากึ่งทคลองนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการใช้สื่อวีดิทัศน์ต่อความรู้และการปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ หลายขนานในผู้ป่วย กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยอายุรกรรมในโรงพยาบาล ทั่วไปแห่งหนึ่ง จำนวน 60 คน แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน ดำเนินการวิชัย ระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 ถึงมิถุนายน พ.ศ. 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย สื่อวีดิทัศน์ เรื่อง การป้องกันการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนานสำหรับผู้ป่วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบวัดความรู้ แบบบันทึกการ สังเกตการปฏิบัติ และแบบสอบถามการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อ ดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนาน โดยผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 6 ท่าน ค่าดัชนีความตรง คามเนื้อหา แบบวัดความรู้ แบบบันทึกการสังเกตการปฏิบัติ และแบบสอบถามการปฏิบัติเท่ากับ 0.96,0.96 และ 0.98 ตามลำดับ ค่าความเชื่อมั่นแบบวัดความรู้แบบบันทึกการสังเกตการปฏิบัติ และ แบบสอบถามการปฏิบัติเท่ากับ 0.83, 1.00 และ 0.93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบค่าที สถิติไควสแคว์ และ สถิติทดสอบฟิชเชอร์ ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังได้รับความรู้ด้วยสื่อวีดิทัศน์ในการป้องกันการติดเชื้อดื้อยา ต้านจุลชีพหลายขนานสำหรับผู้ป่วยกลุ่มทดลองมีคะแนนความรู้เฉลี่ยในการป้องกันการติดเชื้อดื้อยา ต้านจุลชีพหลายขนานเพิ่มขึ้นจาก 19.77 คะแนน เป็น 24.20 คะแนน จากคะแนนเต็ม 25 คะแนน ซึ่ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < .001) และมากกว่ากลุ่มควบคุมที่มีค่าเฉสี่ยคะแนนความรู้ หลังการทดลอง 20.00 คะแนน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < .001) กลุ่มทดลองมีคะแนนการปฏิบัติ เฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 38.37 คะแนน เป็น 51.47 คะแนน จากคะแนนเต็ม 54 คะแนน ซึ่งแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P < .001) และมากกว่ากลุ่มควบคุมที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนการปฏิบัติหลังการทดลอง 37.77 คะแนน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <.001) และกลุ่มทดลองมีสัดส่วนการปฏิบัติที่ถูกต้อง เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 17.47 เป็นร้อยละ 94.80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P = .003) และมากกว่า กลุ่มควบคุมที่มีสัดส่วนการปฏิบัติที่ถูกต้องหลังการทดลองร้อยละ 33.70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <.001) ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า สื่อวีดิทัศน์เรื่อง การป้องกันการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนาน สำหรับผู้ป่วย ส่งผลให้ผู้ป่วยมีความรู้และปฏิบัติในการป้องกันการคิดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนาน ในโรงพยาบาลได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น จึงควรนำสื่อวีดิทัศน์นี้ไปใช้ในการส่งเสริมความรู้และการปฏิบัติใน การป้องกันการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนานในผู้ป่วยในโรงพยาบาลอื่นen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621231020 จุฑารัตน์ ศรีวิชัย.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.