Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77803
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณุพันธุ์ ประภาติกุล-
dc.contributor.advisorสุรพล เศรษฐบุตร-
dc.contributor.advisorทศพล มูลมณี-
dc.contributor.authorพิกุล ประวัติเมืองen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T08:03:21Z-
dc.date.available2022-11-05T08:03:21Z-
dc.date.issued2564-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77803-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study personal characteristics, economy, society, and dairy farming condition of the dairy farmers in Chiang Mai 2) to evaluate factors that relate and support the adaption from the impact of the opening free-trade area of dairy farmers in Chiang Mai and.3) to analyze the problems, needs, and recommendations for adaptation to support the impact of the free-trade area of dairy farmers in Chiang Mai. The population of this research was 821 dairy farmers, who are the member of 9 dairy cooperatives in Chiang Mai. The sample size was calculated by applying Taro Yamane's formula with a tolerance level of 0.07, a sample size of 164 people, and simplified sampling by the irrevocable list lottery method. An interview questionnaire was used to collect data with a confidence level of 0.92 using Cronbach's method during September -December 2020. The statistics used to analyze the data were frequency, percentage, mean, maximum, minimum, standard deviation. Hypotheses were tested using Enter multiple regression analysis. The results showed that the majority of farmers are male with an average age of 50.3 years with a primary level of education, had 14.5 years of experience and the farmers have heirs in their dairy farm. There was a combination of household labor with hired labor using an average number of laborers of 3.6 people per farm. In 2020, farmers had an average net income from dairy farming of 90,817.07 baht per month and an average outstanding debt of 499,330.77 baht. However, most of the farmers have no social position. In addition, in 2020, it was found that farmers received information about the free-trade area an average of 4.48 times per month and the frequency of contact with related officers in dairy farming was an average of 5.84 times per 3 months. Regarding the condition of dairy cow farming, it was found that as the date of the interview, farmers had an average number of 22.40 milking cows with an average area of 4.30 rai of ranch for raising dairy cows. Farmers used the cost of concentrated feed for raising dairy cows on an average of 52,105.91 baht per month. Farmers had a moderate level of the overall perception of the free-trade area (FTA) (average mean of 1.82), and farmers had to adjust to cope with the impact of the free-trade area (FTA) which divided into 3 aspects as follows: economic adaptation was at a moderate level (average mean of 2.06), an adjustment in dairy farming conditions was at a moderate level (average mean of 1.90), and social adaptation was at a moderate level (average mean of 1.79), respectively. The hypothesis-testing results revealed that out of 15 independent variables, 2 independent variables were positively correlated with the farmers' adaptation which were education level with a statistically significant relationship (P<0.05) and perceptions of free trade area with statistically significant relationship (P<0.01). Problems, needs, and recommendations for adaptation to support the impact of the free-trade area found that farmers face problems of an expensive concentrated food and an epidemic. Therefore, the government should help guarantee the price and purchase all raw milk that can be produced. The farmers have suggested for the government to help take care and find measurements that support the impact of the upcoming of the free-trade area for farmers in the future. mendations obtain from this research were government and related officials dairy cooperatives that are close to farmers should provide farmers with related information about the free-trade areas thoroughly and regularly. It should be emphasized on the farmers, who are older or have lower education primary school. In addition, issuing the measurement to support the impact on farmers in the future such as funding or other factors for farmers in the early stages of adaptation, especially, encouraging farmers to use technology that will increase the efficiency of raw milk production or reduce costs within the dairy farm.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการปรับตัวของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมในจังหวัดเชียงใหม่เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเขตการค้าเสรีen_US
dc.title.alternativeChiang Mai dairy farmers’ adaptation to Free Trade Area (FTA) impactsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโคนม -- การเลี้ยง-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะส่วนบุคคล เศรษฐกิจและสังคม และ สภพการเลี้ยงโคนมบางประการของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมในจังหวัดเชียงใหม่ 2) ประเมินปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับการปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเขตการค้าเสรีของเกษตรกรผู้เลี้ยง โคนมในจังหวัดเชียงใหม่ และ 3) วิเคราะห์ปัญหา ความต้องการ และข้อเสนอแนะในการปรับตัวเพื่อ รองรับผลกระทบจากการเปีดเขตการค้าเสรีของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมในจังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ ใช้ในการวิจัย คือ เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ โคนม 9 แห่งในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 821 คน ทำการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการปรับใช้สูตรของ Taro Yamane ความ คลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ที่ระดับ 0.07 ได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 164 คน และทำการสุ่ม ตัวอย่างแบบง่ายโดยวิธีการจับสลากรายชื่อแบบไม่ใส่คืน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ที่มี ค่าความเชื่อมั่น 0.92 ตามวิธีของ Cronbach ในช่วงเดือนกันยายนถึงเดือนธันวาคม พ.ศ.2563 สถิติที่ใช้ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบ สมมติฐานด้วยการใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุ โดยวิธีตัดเลือกเข้าทั้งหมด ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 50.3 ปี จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา และมีประสบการณ์การเลี้ยงโคนมเฉถี่ย 14.5 ปี เกษตรกรส่วนใหญ่มีทายาทสืบทอดใน กิจการโคนม มีการใช้แรงงานในครัวเรือนร่วมกับแรงงานจ้าง โดยใช้จำนวนแรงงานเฉลี่ย 3.6 คนต่อ ฟาร์ม และในปี พ.ศ.2563 พบว่า เกษตรกรมีรายได้สุทธิเฉสี่ยจากการเลี้ยงโคนม 90,817.07 บาทต่อ เดือน และมีการะหนี้สินคงค้างเฉลี่ย 499,330.77 บาท ทั้งนี้เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีตำแหน่งทางสังคม นอกจากนี้ในปี พ.ศ.2363 ยังพบว่า เกษตรกรมีการได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเปิดเขตการค้าเสรี เฉลี่ย 4.48 ครั้งต่อเดือน และมีความถี่ในการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงโคนมเฉลี่ย 5.84 ครั้งต่อ 3 เดือน ด้านสภาพการเลี้ยงโคนม พบว่า ณ วันสัมภาษณ์ เกษตรกรมีจำนวนแม่โครีดนมเฉลี่ย 22.40 ตัว โดยมีพื้นที่แปลงหญ้าสำหรับใช้เลี้ยงโคนมเฉถี่ย 4.30 ไร่ เกษตรกรมีการใช้ต้นทุนค่าอาหาร ข้นในการเลี้ยงโคนมเฉลี่ย 52,105.91 บาทต่อเดือน ทั้งนี้เกษตรกรจะมีการรับรู้เกี่ยวกับการเปิดเขต การค้าเสรี (FTA) ใบภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 1.82) และเกษตรกรมีการปรับตัวเพื่อ รองรับผลกระทบจากการเปีดเขตการค้าเสรี (FTA) ซึ่งสามารถแบ่งได้ 3 ด้าน ดังนี้ การปรับตัวด้าน เศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 2.06) การปรับตัวด้านสภาพการเลี้ยงโดนมอยู่ในระดับปาน กลาง (ค่าเฉลี่ย 1. 90) และการปรับตัวด้านสังคมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 1.79) ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า จากตัวแปรอิสระจำนวน 15 ตัวแปร มีตัวแปรอิสระจำนวน 2 ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวของเกษตรกรในเชิงบวก ได้แก่ ระดับการศึกษา มี ความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และการรับรู้เกี่ยวกับการเปิดเขตการค้าเสรี มี ความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.01) ปัญหา ความต้องการ และข้อเสนอแนะของเกษตรกรในการปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบจาก การเปิดเขตการค้าเสรี พบว่า เกษตรกรประสบปัญหาอาหารข้นมีราคาแพงและปัญหาโรคระบาด จึง ต้องการให้ภาครัฐช่วยในการประกันราคาและรับซื้อน้ำนมดิบที่ผลิตได้ทั้งหมด โดยที่เกษตรกรมึ ข้อเสนอแนะให้ภาครัฐเข้ามาช่วยดูแลและหามาตรการเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเขตการค้าเสรี ให้กับเกษตรกรที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ คือ หน่วยงานภาครัฐและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ สหกรณ์ โคนมที่มีความใกล้ชิดกับเกษตรกรควรให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเปิดเขตการค้าเสรีแก่ เกษตรกรอย่างทั่วถึงและสม่ำเสมอ โดยเน้นเกษตรกรที่อายุมากหรือมีระดับการศึกษาต่ำกว่าระดับ ประถมศึกษา รวมถึงการออกมาตรการเพื่อรองรับผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับเกษตรกร ในอนาคต เช่น การสนับสนุนค้านเงินทุนหรือปัจจัยต่าง ๆ ให้กับเกษตรกรในระยะแรกของการปรับตัว โดยเฉพาะการส่งเสริมให้เกษตรกรมีการใช้เทคโนโลยีที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมดิบ หรือลดต้นทุนภายในฟาร์มโคนม เป็นต้นen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620831026 พิกุล ประวัติเมือง.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.