Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77799
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุฑามาส คุ้มชัย | - |
dc.contributor.advisor | ณัฐา โพธาภรณ์ | - |
dc.contributor.author | ธีรวัฒน์ สีทอง | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-05T07:55:34Z | - |
dc.date.available | 2022-11-05T07:55:34Z | - |
dc.date.issued | 2563-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77799 | - |
dc.description.abstract | The F1 hybrid improvement of leaf mustard was attempted through self-incompatibility (SI) and cytoplasmic male sterility (CMS) mechanisms, with the use of seed set per pod to determine the levels of pollen viability and self-incompatibility. The objective was to select a parental line for producing F1 hybrid seeds that produce crops with good horticultural characteristics for food industrial processing. The results of pollen viability analysis indicate that BC9(4-4x2M)G3, BC9(4- 4x2M)J11, BC9(4-4x40R)L4, BC11(4-4x4OR) and BC9(4-3x19H)P7 are of empty pollen or CMS type while the 40R-2, 40R-17, 2M-3, 2M-23, 19H9-9, and 19H116 are in the male fertile group. The self-incompatibility analysis by seed counts showed that 40R-17, 2M-23 and 19H9-9 belong to the weak-self-compatibility (WSI) group. The evaluation of the F1 hybrid from CMS maternal lines reveals that BC11(4- 4x40R)x40R-2 has a high total yield weight of 3,456 kg/rai. However, the yield weight after trimming per plant is too high to be suitably used for food industrial processing as the weight acceptable by the processing plants is in the range of 250-350 grams per plant. The hybrids BC9(4- 4x40R)L4x40R-17, BC9 (4-4x2M)G3x19H16, BC9(4-4x2M)J1 1x2M-3, BC9(4-4x2M)G3x40R-2, BC9,(4-4x2M)G3x19H9-9, BC11(4-4x40R)X40R-17, BC9(4-3x19H)P7x19H16, BC9(4-3x19H)P7x 40R-2, BC11(4-4x40R)x2M-23, BC9(4-3x19H)P7x19H9-9, BC11(4-4X40R)x19H9-9, BC11(4-4x 40R)x19H16 and BC9(4-3x19H)P7x2M-23 however, have suitable yield weight per plant for processing. The mean heterosis over the parental lines for yield per rai was found to be both positive and negative. BC9(4-3x19H)P7x40R-2 showed high positive heterosis at 42.9 percent while BC9(4- 4x2M)J11x40R-17 showed high positive heterobeltiosis at 36.5 percent. Furthermore, BC9(4- 4x40R)L4x 19H9-9 showed high negative heterosis over the commercial varieties at -40.9 percent. The evaluation of the F, hybrid from SI maternal lines reveals that 19H16x2M-3 showed a high yield weight of 2,935 kg/rai, significantly different from the parental line and some commercial varieties except for the Standard 1 commercial variety. The hybrids 2M-23x19H16, 40R-2x2M-23, 2M-3x19H9 and 40R-17x2M-3 gave the weight after trimming at 343, 342, 340, 315 and 284 gram, respectively, and their weights per plant satisfy the factory requirement. The hybrid 40R-17x2M-3 had heterosis in yield weight per rai, with high negative heterosis at -21.6 percent. Moreover, it showed high negative heterobeltiosis at -32.3 percent and high negative heterosis over the standard variety at -27.8 percent. The evaluation of horticultural characteristics at 55 days after transplant found that the F1 hybrids have good horticultural characteristics that precisely meet the food industrial processing requirements. However, these F1 hybrids had a lower yield weight relative to the commercial varieties. Besides, some hybrids produced loose heading which was the result of the backcross with the maternal line failing to generate the best and complete heading in F1. Thus, there remains a need for more improvement to achieve both firm heading and high yield in leaf mustard. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การปรับปรุงพันธุ์ลูกผสมชั่วที่หนึ่งของผักกาดเขียวปลี โดยใช้การผสมตัวเองไม่ติดและเป็นหมันที่ควบคุมโดยยีน ในไซโทพลาซึม | en_US |
dc.title.alternative | F1 Hybrid breeding of Leaf Mustard using self-incompatibility and cytoplasmic male sterility | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ผักกาดเขียวปลี -- การปรับปรุงพันธุ์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ผักกาดเขียวปลี | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การปรับปรุงพันธุ์ลูกผสมชั่วที่หนึ่งของผักกาดเขียวปลี โดยใช้การผสมตัวเองไม่ติดและเป็น หมันที่ควบคุมโดยยีนในไซโทพลาซึม โดยศึกษาความมีชีวิตของละอองเรณูและตรวจสอบการผสม ตัวเองไม่ติดจากการติดเมล็ดต่อฝึก มีจุดประสงค์เพื่อคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์สำหรับการผลิตเมล็ดพันธุ์ ลูกผสมชั่วที่หนึ่ง ประเมินพันธ์ถูกผสมชั่วที่หนึ่ง โคยคัดเลือกพันธุ์ที่มีลักษณะทางพืชสวนที่ดีสำหรับ โรงงานแปรรูป จากผลการตรวจสอบความมีชีวิตของละอองเรณู พบว่า ผักกาดเขียวปลีพันธุ์ BC9(4 4X2M)G3 BC9(4-4X2M)J11, BC9(4-4x4OR)L4, BC11(4-4x4OR) และ BC9(4-3x19H)P7 เป็นกลุ่มที่มี ละอองเรณูไม่มีชีวิตหรือพันธุกรรมเพศผู้เป็นหมันในไซโทพลาซึม ส่วนพันธุ์ 4OR-2, 4OR-17, 2M-3, 2M-23, 19H9-9 และ 19H16 เป็นกลุ่มที่มีละอองเรณูมีชีวิต ส่วนการตรวจสอบการผสมตัวเองไม่ดิด อัตราการเกิดเมล็ดพันธุ์ พบว่า พันธุ์ 4OR-17, 2M-23 และ 19H9-9 เป็นพันธุ์ที่มีการผสมตัวเองไม่ติด ปานกลาง การประเมินพันธุ์ลูกผสมชั่วที่จากแม่พันธุ์ที่มีลักษณะเกสรเพศผู้เป็นหมัน พบว่าพันธุ์ BC11(4- 4x4OR)x4OR-2 ให้ผลผลิตต่อไร่ สูง 3,456 กิโลกรัม ซึ่งมีน้ำหนักปลีมากกว่าไม่ตรงตามความต้องการ ของโรงงาน โดยน้ำหนักปลีที่โรงงานแปรูปต้องการคือ 250-350 กรัม ซึ่งลูกผสมชั่วที่หนึ่งที่มีน้ำหนัก ปลีที่เหมาะสำหรับการแปรรูป คือ BC9(4-4x4OR)L4X40R-17, BC9(4-4X2M)G3x19H16, BC9(4 4x2M)J11x2M-3, BC9(4-4x2M)G3x40R-2, BC9(4-4x2M)G3x19H9-9,BC11(4-4x40R)X40R-17, BC9(4-3x19H)P7x19H16, BC9(4-3x19H)P7x40R-2, BC11(4-4x40R)x2M-23, BC9(4-3x19H)P7x 19H9-9, BC11(4-4x40R)x19H9-9, BC11(4-4x40R)x19H16 และ BC9(4-3x19H)P7x2M-23 ความดีเด่นที่เหนือกว่าค่าเฉลี่ยของพ่อแม่นผลผลิตต่อไร่ แสดงออกทั้งทางค้านบวกและ ทางลบ ซึ่งลูกผสม BC9(4-3x19H)P7x40R-17 ให้ความดีเด่นทางบวกสูงร้อยละ 42.9 ในขณะที่ BC9(4-3x19H)P7x40R-17 มีความดีเด่นของลูกผสมที่เหนือกว่าค่าเฉลี่ยของพ่อหรือแม่ที่ดีที่สุดร้อยละ 36.5 และ BC9(4-4X40R)L4X19H9-9 มีความดีเด่นที่เหนือกว่าค่าเฉลี่ยของพันธุ์การค้าลูกผสมที่ แสดงออกทางลบร้อยละ -40.9 การประเมินพันธุ์ลูกผสมชั่วที่หนึ่งจากแม่พันธุ์ที่มีลักษณะการผสมตัวเองไม่ติด พบว่า ลูกผสม 19H16x2M-3 ให้ผลผลิต 2,935 กิโลกรัมต่อไร่ แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับพ่อแม่ พันธุ์ พันธุ์การค้าบางพันธุ์ อย่างไรก็ตามไม่มีความแตกต่างทางสถิติกับพันธุ์การค้า Standard 1 ในขณะที่พันธุ์ถูกผสม 2M-23x19H16, 40R-2x2M-23, 2M-3x19H9 และ 40R-17x2M-3 ให้น้ำหนัก ปลีหลังตัดแต่งเท่ากับ 343, 342, 340, 315 และ 284 กรัม ตามลำคับ ซึ่งมีน้ำหนักปลีตรงกับความ ต้องการของโรงงาน ความดีเด่นของถูกผสมที่เหนือกว่าค่าเฉลี่ยของพ่อแม่ด้านน้ำหนักผลผลิตต่อไร่ พันธุ์ 40R-17x2M-3 แสดงออกทางลบสูงสุดร้อยละ -21.6 นอกจากนี้ยังพบว่ามีความดีเด่นของ ลูกผสมที่เหนือกว่าค่าเฉลี่ยของพ่อหรือแม่ที่ดีที่ สุดร้อยละ -32.3 และความดีเด่นของลูกผสมที่ เหนือกว่าค่าเฉลี่ยของพันธุ์การค้า พบว่า 40R-17x2M-3 มีค่าความดีเด่นทางนลบสูงสุดเท่ากับร้อย ละ -27.8 การประเมินลักษณะทางพืชสวนของผักกาดเขียวปลี ที่อายุ 55 วันหลังย้ายปลูก พบว่า ลูกผสมชั่วที่หนึ่งมีลักษณะทางพืชสวนที่ดีตรงกับความต้องการของโรงงานแปรรูป แต่ให้ผลผลิตต่อ ไร่ต่ำกว่าพันธุ์การค้า และลูกผสมบางกู่ยังมีลักษณะการห่อปลีไม่แน่น เป็นผลมาจากการผสมกลับ ของพันธุ์แม่ขังไม่สามารถให้ลักษณะการห่อปลีที่ดีและสมบูรณ์ ซึ่งต้องปรับปรุงลักษณะการห่อปลี และให้ผลผลิตสูง | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
580831078 ธีรวัฒน์ สีทอง.pdf | 16.81 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.