Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74225
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรีดา พิชยาพันธ์-
dc.contributor.authorภัทรพล ภู่เพ็ชร์en_US
dc.date.accessioned2022-10-15T08:24:20Z-
dc.date.available2022-10-15T08:24:20Z-
dc.date.issued2564-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74225-
dc.description.abstractAt present, Thailand has increasingly promoted domestic tourism. There are more brand-new tourist destinations and the government has generated policies to support the development of internal provincial areas under the supervision of governmental agencies. It aims to enhance attractiveness and interests as well as cultural development in each area to be outstanding and to draw in both domestic and international tourists. Currently, Thailand has acquired an increase of domestic tourism more than in the past. As a result, there are more demands on tourist rest stops. Sometimes, travelers do not need to fill up fuel tanks but to take some rests from exhaustion or to have some food. There is a variety of facilities and beautiful sceneries which make tourists or service users relaxed. Therefore, this research aims to analyze the significant factors to develop tourism rest areas, and to analyze the appropriate locations of the tourism rest areas. Data collection was conducted through interviews with questionnaires. The sampling group was the tourists in Chiang Mai being interviewed on the motivation regarding the selections of tourism rest areas in order to analyze the analytic hierarchy process to identify the priority of development factors for tourist roadside rest stops. The study results acquired shall be applied as guidelines to identify the locations of tourism rest areas and determine proper facilities corresponding to service users' needs. Data obtained from the survey has been categorized into 2 groups; 1. Data on socioeconomic characteristics of the travelers including; gender, age, profession, income range, and selected travel mode; and 2. Data on attitude towards facilities consisting of factors on engineering, facilities, and environment. Data analysis result from the sampling group has demonstrated that the majority was female aged between 21-30 at 61% in relation to the professions mostly found as company employees at 31.5%, and students at 25.75% with an income range between 10,000-15,000 baht per month or at 27% ratio. Moreover, an analysis on motivation values of the most significant secondary factor falling on facilities has shown that restrooms obtained the highest level of influence with mean and standard deviation at x̄ = 4.5, S.D. = 0.5 respectively, followed by parking services with x̄ = 4.44, S.D. = 0.6, then shops and restaurants at x̄ = 3.51, S.D. = 1.03, and lightings at x̄ = 3.44, S.D. = 1.14 of mean and standard deviation values respectively. The analytic hierarchy process result acquired was that the facility factor obtained the most weighted average value at 0.636, followed by environment factor at 0.277, and engineering factor at 0.087 of the weighted average values. The results on the facility sub-factors portrayed that restrooms contained the weighted average value at 0.473, followed by shops and restaurants at 0.303, parking services at 0.1 76, and lightings at 0.048 of the weighted average values. An analysis on the proper locations of tourism rest areas has been conducted by the researcher on the highway road number 107 and nearby roads. The result demonstrated the 15-minute resting period with 50 rai area with 32 kilometers of distance, 20 rai area with 13 Kilometers of distance, and lastly 5 rai area with 10.6 kilometers of distance.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ตำแหน่งและปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้ที่พักริมทางเชิงท่องเที่ยวen_US
dc.title.alternativeLocating and factors analysis for tourism rest areas developmenten_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashไทย -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว-
thailis.controlvocab.thashที่พักนักท่องเที่ยว-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันประเทศไทย ได้มีการส่งเสริมให้มีการท่องเที่ยวภายในประเทศมากขึ้น มีสถานที่ ท่องเที่ยวใหม่ๆเพิ่มมากขึ้นและรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนให้มีการพัฒนาพื้นที่ภายในจังหวัดต่าง ๆ ภายใต้การดูแลควบคุมของหน่วยงานรัฐให้มีจุดดึงดูดและความน่าสนใจ รวมไปถึงการพัฒนาวัฒนธรรม ของแต่ละพื้นที่ให้มีความโดดเด่นทำให้สามารถจึงดูคนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศและต่างประเทศมา ท่องเที่ยว ซึ่งในปัจจุบันประเทศไทยมีอัตราการท่องเที่ยวภายในประเทศเพิ่มมากขึ้นกว่าแต่ก่อน ทำให้ที่ พักรถเชิงท่องเที่ยวมีความต้องการมากขึ้น ในบางครั้งผู้เดินทางไม่ได้ต้องการเติมน้ำมัน เพียงแต่ต้องการ พักความเมื่อยล้า รับประทานอาหาร มีสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ และวิวทิวทัศน์ที่สวยงามเพื่อที่จะทำ ให้นักท่องเที่ยวหรือผู้ที่มาใช้บริการ ได้เกิดความผ่อนคลาย ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์ หาปัจจัยที่สำคัญสำหรับพัฒนาที่พักริมทางเชิงท่องเที่ยว และเพื่อวิเคราะห์หาตำแหน่งที่เหมาะสมของที่ พักริมทางเชิงท่องเที่ยว การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นการสัมภาษณ์ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น นักท่องเที่ยวในเชียงใหม่เรื่องแรงจูงใจในการเลือกใช้ที่พักริมทางเพื่อนำไปวิเคราะห์กระบวนการ วิเคราะห์ตามลำดับชั้นเพื่อระบุหาลำดับความสำคัญของปัจจัยสำหรับพัฒนาที่พักริมทางเชิงท่องเที่ยวโดย ผลการศึกษาที่ได้นั้นจะสามารถนำมาปรับใช้เป็นแนวทางการกำหนดตำแหน่งที่พักริมทางเชิงท่องเที่ยว และกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการได้เหมาะสม โดยข้อมูลที่ได้จากการสำรวจสามารถจำแนกออกได้ 2 ประเภทได้แก่ 1.ข้อมูลคุณลักษณะ เศรษฐกิจและสังคมของผู้เดินทาง ประกอบด้วย เพศ อายุ อาชีพ ระดับรายได้ รูปแบบการเดินทางที่ เลือกใช้ 2. ข้อมูลทัศนคติเกี่ยวกับปัจจัยสิ่งอำนวยความสะดวก ได้แก่ปัจจัยด้านวิศวกรรม ปัจจัยด้านสิ่ง อำนวยความสะดวก และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างส่วนมากเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุอยู่ช่วง 21-30 ปีถึงร้อยละ 61 สอดคล้องกับอาชีพส่วนใหญ่ที่เป็นพนักงานบริษัทสัดส่วนร้อยละ 31.5 และเป็นนักเรียน นักศึกษาร้อยละ 25.75 โดยมีระดับรายได้อยู่ช่วง 10,001- 15,000 บาทต่อเดือนคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 27 การวิเคราะห์ค่าแรงจูงใจของปัจจัยรองซึ่งที่สำคัญที่สุดคือด้านสิ่งอำนวยความสะดวกผลที่ได้คือ ห้องน้ำมีระดับความมีอิทธิพลมากที่สุดมีค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ (x̄ = 4.5, S.D. - 0.5) ตามลำดับ รองลงมาคือ บริการที่จอดรถมีค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเขี่ยงเบนมาตรฐาน (x̄ = 4.4. S.D. - 0.6) ร้านค้าต่าง ๆ และร้านอาหารมีค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (x̄ = 3.51, S.D. = 1.03) และไฟ ส่องสว่างมีค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (x̄ = 3.44. S.D. = 1.14) ตามลำดับ กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้นผลที่ได้คือปัจจัยด้านสิ่งอำนวยความสะดวกมีค่าถ่วงน้ำหนัก มากที่สุดเท่ากับ 0.544 รองลงมาคือปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าถ่วงน้ำหนักเท่ากับ 0.330 และปัจจัยด้าน วิศวกรรมมีค่าถ่วงน้ำหนักเท่ากับ 0.126 โดยปัจจัยย่อยด้านสิ่งอำนวยความสะดวกผลที่ได้คือ ห้องน้ำมีค่า ถ่วงน้ำหนักเท่ากับ 0.407 รองลงมาคือร้านค้าและร้านอาหารมีค่าถ่วงน้ำหนักเท่ากับ 0.303 บริการที่จอด รถมีค่าถ่วงน้ำหนักเท่ากับ 0.208 และ ไฟส่องสว่างมีค่าถ่วงน้ำหนักเท่ากับ 0.083 การวิเคราะห์ระยะจุดพักที่เหมาะสมของที่พักริมทางเชิงท่องเที่ยว ผู้ศึกษาทำการศึกบริเวณถนน ทางหลวงหมายเลข 107 และถนนบริเวณใกล้เคียงผลที่ได้คือ ระยะเวลาพัก 15 นาทีผลที่ได้ขนาดพื้นที่ 50 ไร่ ระยะห่างอยู่ที่ 32 กิโลเมตร ขนาคพื้นที่ 20 ไร่ ระยะห่างอยู่ที่ 13 กิโลเมตร และ ขนาดพื้นที่ 5 ไร่ ระยะห่างอยู่ที่ 3.2 กิโลเมตรen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590631008 ภัทรพล ภู่เพ็ชร์.pdf3.54 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.