Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74220
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สิทธิเกรียงไกร-
dc.contributor.advisorชยันต์ วรรธนะภูติ-
dc.contributor.authorวิจิตรา จันทวงศ์en_US
dc.date.accessioned2022-10-15T08:14:49Z-
dc.date.available2022-10-15T08:14:49Z-
dc.date.issued2564-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74220-
dc.description.abstractThis thesis aims to study the phenomenon of tattooing, body, and social networks of two tattoo schools in Chiang Mai and Tak province by collecting participant observation, key informant interviews, and case studies. Intending to understand the changes of tattoo alteration in the changing socio-economic context, the changes after tattooing, , and the tattoo schools' social networking relations. The concept of social network, govern mentality, and body was applied in the analysis. This study had three main questions: 1. How do alterations of tattooing change in socio-economic context? 2. How do the tattoo disciples change after being tattooed? and 3. How does the social nerwork of the altoo masters and their diseiples wax? The study found that tattooing is one of the choices that people are now paying attention to. As people feel insecure about their lives, they need psychological support amid the ongoing shift in social and economic contexts. Society's perspective on tattoos has changed dramatically from tattooing to prevent danger and showing masculinity to tattooing in fashion has resulted in the new generation becoming more popular with tattoos. It is tattooing for beauty in terms of personal aesthetics or tattooing for faith, such as tattooing for affection or tattooing for the belief in safety and invincibility, resulting in many tattoo schools in every corner of the city. There is always the connection among the tattoo schools, tattoo masters, and disciples, which have a typical relationship through the tattoo. Therefore, the body as a space for tattoos after getting a tattoo, the disciples must practice themselves according to the instructions of each school or tattoo master to maintain the power of the tattoo to always be with the disciples. From these practices, the interaction between tattoo masters and disciples becomes a social network of tattoo schools. Thus, there is mutual assistance between disciples and tattoo masters in changing social and economic contexts as if they were one in the same family.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการสัก: ร่างกายและเครือข่ายความสัมพันธ์ทางสังคมen_US
dc.title.alternativeTattooing: body and social networking relationsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการสัก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ต้องการศึกษาปรากฎการณ์การสักร่างกายและเครือข่ายความสัมพันธ์ ทาง สังคมของ 2 สำนักสักในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดตาก โดยรวบรวมข้อมูลจากการสังเกตการณ์อย่าง มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักและการศึกษากรณีศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจ การเปลี่ยนแปลงความหมายการสักในบริบทสังคม เศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงการเปลี่ยนแปลง หลังเข้ารับการสัก และเครือข่ายความสัมพันธ์ทางสังคมของสำนักสัก ทั้งนี้ได้นำแนวคิดเครือข่าย ความสัมพันธ์ทางสังคม การปกครองชีวญาณและร่างกาย มาใช้ในการวิเคราะห์ ซึ่งการศึกษานี้มีคำถาม หลัก 3 คำถาม 1) การเปลี่ยนแปลงความหมายของการสักในบริบทสังคม เศรษฐกิจเป็นอย่างไร 2) ผู้เข้า รับการสัก (ลูกศิษย์) เกิดการเปลี่ยนร่างกาย หลังเข้ารับกรสักอย่างไร และ 3) เครือข่ายความสัมพันธ์ ทางสังคมของอาจารย์สักและลูกศิษย์เป็นอย่างไร ผลการศึกษาพบว่า การสัก คือหนึ่งทางเลือกที่ผู้คนในปัจจุบันหันมาให้ความสนใจเนื่องจาก ผู้คนรู้สึกไม่มั่นคงในการใช้ชีวิต จึงจำเป็นต้องหาที่พึ่งทางจิตใจท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงบริบทสังคม และเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ทำให้มุมมองของสังคมที่มีต่อลายสักได้เปลี่ยนไปเป็นอย่างมาก จากการสัก เพื่อป้องกันภยันตรายและแสดงความเป็นชายไปสู่การสักแบบแฟชั่น ส่งผลให้คนรุ่นใหม่นิยมการสัก มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการสักเพื่อความสวยงามในแง่ของสุนทรีภาพส่วนบุคคล หรือการสักเพื่อความเชื่อ เช่น การสักเพื่อความเสน่หา ให้คนรอบข้างรักใคร่ชอบพอไปจนถึงการสักเพื่อความเชื่อในเรื่องแคล้ว คลาดปลอดภัย อยู่ยงคงกระพัน ส่งผลให้เกิดสำนักสักขึ้นมากมายในทุกหัวมุมเมือง โดยแต่ละสำนักสัก นั้น อาจารย์เจ้าสำนักสักและลูกศิษข์จะมีความสัมพันธ์ร่วมกันผ่านการสัก ดังนั้น ร่างกายในฐานะที่เป็นพื้นที่สำหรับรองรับลายสัก หลังจากได้รับการสัก ผู้เข้ารับการสัก จะต้องฝึกปฏิบัติตนเองตามคำแนะนำของแต่ละสำนักหรือแต่ละอาจารย์สัก เพื่อรักษาพลานุภาพของ ลายสักให้อยู่กับผู้ข้ารับการสักเสมอ จากการฝึกปฏิบัติเหล่านี้ก่อให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์ สักและถูกศิษข์จนเกิดเป็นเครือข่ายทางสังคมของสำนักสัก มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันระหว่างกลุ่ม ศิษย์และอาจารย์สักท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงบริบทสังคม และเศรษฐกิจเสมือนเป็นหนึ่งในครอบครัว เดียวกันen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590431030 วิจิตรา จันทวงศ์.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.