Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74158
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นันทพร แสนศิริพันธ์ | - |
dc.contributor.advisor | จิราวรรณ ดีเหลือ | - |
dc.contributor.author | ศิริรัตน์ สอนเทศ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-28T10:05:30Z | - |
dc.date.available | 2022-09-28T10:05:30Z | - |
dc.date.issued | 2021-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74158 | - |
dc.description.abstract | Paternal health literacy among expectant fathers is essential for the wellness of the expectant father, the pregnant wife, and the fetus. The purpose of this descriptive correlational research study was to explore education, income, anxiety, social support, and paternal health literacy among expectant fathers. The subjects consisted of 105 expectant fathers who took their pregnant wives to the antenatal care unit at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital and Health Promotion Center Region 1 Chiangmai from March 2021 to June 2021. The research instruments were the Paternal Health Literacy Questionnaire developed by the researchers and based on the health literacy concept by Sørensen et al (2012) and on the literature reviewed, the State Anxiety Inventory [STAI] form Y-1 by Spielberger et al (1983) and translated into Thai by Nontasak, Aemsupasit and Thapinta (1995), and the Social Support Questionnaire developed by Piyawan et al. (2015) based on House’s social support concept (1981). Descriptive statistics, Eta correlation, Pearson's product moment correlation and Spearman rank correlation coefficient were used to analyze the data. The results of the study revealed that: 1. Most participants (94.29%) had high level of paternal health literacy. The mean score was 407.14 (SD = 37.58). 2. Anxiety had a negative correlation with paternal health literacy (r = -.387, p < .001), while social support had a positive correlation with paternal health literacy (r = .464, p < .001). 3. Education and income were not correlated with paternal health literacy. The findings from this study can be used as baseline data to promote paternal health literacy among expectant fathers by providing social support and reducing the anxiety of expectant fathers to maintain wellness for them, their pregnant wife, and the fetus. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพบิดาในผู้จะเป็นบิดา | en_US |
dc.title.alternative | Factors related to paternal health literacy among expectant fathers | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | บิดา -- สุขภาพและอนามัย | - |
thailis.controlvocab.thash | การมีส่วนร่วมของบิดามารดา | - |
thailis.controlvocab.thash | บิดามารดาและบุตร | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ความรอบรู้ด้านสุขภาพบิดาในผู้จะเป็นบิดามีความสำคัญมากต่อภาวะสุขภาพของผู้จะเป็นบิดาภรรยาที่ตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์ การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับการศึกษา รายได้ ความวิตกกังวล และการสนับสนุนทางสังคมกับความรอบรู้ด้านสุขภาพบิดาในผู้จะเป็นบิดา กลุ่มตัวอย่าง คือ ชายที่ภรรยากำลังตั้งครรภ์ และพากรรยามาฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 1เชียงใหม่ ระหว่างเดือนมีนาคม ถึงเดือนมิถุนายน 2564 จำนวน 105 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพบิดาในผู้จะเป็นบิดา ที่สร้างขึ้นโดยคณะผู้วิจัยจากแนวคิดของ โซรนเซน และคณะ (Serensen et al, 2012) และจากการทบทวนวรรณกรรม แบบสอบถามความวิตกกังวลขณะเผชิญ (The State Anxiety Inventory [STAI] fomm Y1) ของสปีลเบอร์เกอร์ และคณะ(Spielberger et al, 1983) ฉบับแปลเป็นภาษาไทยโดย ธาตรี นนทศักดิ์, สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต, และดาราวรรณ ต๊ะปินตา (2534) แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมของผู้จะเป็นบิดาสร้างโดยปิยวรรณ นันทะพงษ์ และคณะ (2558) ตามแนวคิดของเฮาส์ (House, 1981) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อีต้า สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสถิติสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า 1. ร้อยละ 94.29 ของกลุ่มตัวอย่างมีความรอบรู้ด้านสุขภาพบิดาอยู่ในระดับสูง โดยมีค่าเฉลี่ยคะแนน 407.14 (SD = 37.58) 2. ความวิตกกังวลมีความสัมพันธ์ทางลบกับความรอบรู้ด้านสุขภาพบิดาในผู้จะเป็นบิดาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( r = -387, D < .00 1) และการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความรอบรู้ด้านสุขภาพบิดาในผู้จะเป็นบิดา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r =.464, p <.001) 3. ระดับการศึกษา และรายได้ ไม่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพบิดาในผู้จะเป็นบิดา ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพบิดาในผู้จะเป็นบิดา โดยให้การสนับสนุนทางสังคมและลดความวิตกกังวลของผู้จะเป็นบิดา ทั้งนี้เพื่อธำรงไว้ซึ่งการมีสุขภาพดีของตนเอง ภรรยาที่ตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์ | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621231038 ศิริรัตน์ สอนเทศ.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.