Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74157
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริชัย คุณภาพดีเลิศ-
dc.contributor.authorสรรค์ภพ ดุมกลางen_US
dc.date.accessioned2022-09-28T09:56:17Z-
dc.date.available2022-09-28T09:56:17Z-
dc.date.issued2022-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74157-
dc.description.abstractIn this study, various low-cost sulfonated poly (ether ether ketone) membranes were prepared by casting method differing by weight ratio at 10, 15, and 20% between polymer and dissolve agent as N,N’-dimethylformamide (DMF). The Nafion117 membrane was used as a reference. We studied morphology, physicochemical properties, and cell performance of organic redox flow battery using anthraquinone-2-sulfonic acid (AQS) and 1,2-benzoquinone-3,5-disulfonic acid (BQDS) as electrolytes. The morphology demonstrated dense, homogenous with no defect, and thickness of 60 micrometers membrane. Physicochemical properties were represented by Water uptake, Swelling ratio, Ion exchange capacity, and Degree of sulfonation. Some of the prepared membranes were affected by moisture contamination. The results exhibited potential in rate performance and maintaining stability during cycles despite no significant difference between various SPEEK membranes. Cell performance revealed columbic efficiency at 86%, highest energy efficiency at 39%, and highest power density at 8.36 mW/cm2en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโฟล์วรีดอกซ์แบตเตอรี่en_US
dc.subjectเมมเบรนen_US
dc.titleการพัฒนาโฟล์วรีดอกซ์แบตเตอรี่โดยใช้เมมเบรนชนิดเอสพีอีอีเคและอิเล็กโทรไลต์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมen_US
dc.title.alternativeDevelopment of redox flow battery system using speek membrane and eco-friendly electrolyteen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเมมเบรน (เทคโนโลยี)-
thailis.controlvocab.thashเมมเบรนแลกเปลี่ยนไอออน-
thailis.controlvocab.thashแบตเตอรี่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยศึกษาอัตราส่วนในการผลิตเมมเบรนแลกเปลี่ยนไอออนชนิดสปีคที่ 10% 15% และ20% ระหว่างโพลิเมอร์และตัวทำละลายดีเอ็มเอฟผลิตโดยวิธีการขึ้นรูปเปรียบเทียบกับเมมเบรนแนฟฟิออน117 ซึ่งศึกษาสัญฐานวิทยา คุณสมบัติทางเคมีกายภาพและการหาประสิทธิภาพรวมถึงสมรรถนะของเซลล์แบตเตอรี่เซลล์เดี่ยวในแบตเตอรี่ชนิดการไหลปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ใช้สารละลายแอนทราคิวโนนและสารละลายเบนโซคิวโนนเป็นอิเล็กโทรไลต์ เมมเบรนสปีคที่ผลิตขึ้นมีการเจือปนจากความชื้นในบางส่วนส่งผลต่อคุณสมบัติทางเคมีกายภาพของเมมเบรน ผลการทดลองสัญฐานวิทยาได้ความหนาของเมมเบรนสปีคทั้ง 3 ชนิดที่ 60 ไมโครเมตรและพื้นผิวมีความเรียบเนียนไม่มีรูพรุนสามารถใช้งานเป็นเมมเบรนแลกเปลี่ยนไอออนที่สามารถป้องกันการรั่วไหลของอิเล็กโทรไลต์ได้ คุณสมบัติทางเคมีกายภาพศึกษาอัตราการดูดซึมน้ำ สัดส่วนการบวมตัว ความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออน ระดับการซัลโฟเนชัน โดยผลการทดลองเมมเบรนสปีคทั้ง 3 ชนิดมีค่าคุณสมบัติทั้งหมดใกล้เคียงกันและอยู่ในช่วงค่าที่เหมาะสมเทียบกับงานวิจัยอื่น ๆ แสดงให้เห็นว่าเมมเบรนสปีคมีความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออนและเสถียรภาพเชิงกลระหว่างการอัดและคายประจุจึงทำการทดสอบกับเซลล์แบตเตอรี่เซลล์เดี่ยวได้ประสิทธิภาพประจุเท่ากันที่ 86% และประสิทธิภาพพลังงานมากที่สุดเท่ากับ 39% โดยมีความหนาแน่นกำลังไฟฟ้าสูงสุด 8.36 มิลลิวัตต์ต่อตารางเซนติเมตรen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631084-สรรค์ภพ ดุมกลาง.pdf3.04 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.