Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74152
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รวี ลงกานี | - |
dc.contributor.author | ทะนุ ประเสริฐสุนทร | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-24T09:15:07Z | - |
dc.date.available | 2022-09-24T09:15:07Z | - |
dc.date.issued | 2020-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74152 | - |
dc.description.abstract | Information asymmetry is the major topic in finance. Since it is a fundamental assumption for important hypotheses, efficient market hypothesis (EMH) and perfectly competitive market, that affect investment return. The study investigates the information asymmetry between local institutional investors and local individual investors in The Stock Exchange of Thailand based on event study basis by using trading volume of each investor group around dividends and quarterly earnings announcements of stock that remains in SET50 index between 2012-2015. The result shows that the abnormal trading volume of individual investors is significantly higher than institutional investors. Leading to the conclusion that there is information asymmetry in The Stock Exchange of Thailand. This asymmetry appears to be higher among individual investors than the institutions. It can claim that the higher abnormal trading volume of individual investors around the announcement period means they have to respond to the released information while institutional investors, who are more informed, no need to adjust their trading volume as much as individual investors do. Additionally, good and bad news, firm size, analyst coverage, and bid-ask spread are tested and there is only bid – ask spread indicate significance in term of the abnormal trading volume differences between two groups of investor around the quarterly earnings announcement. The overall results of the study concluded that, in the Stock Exchange of Thailand, institutions have information advantage over individual investors and bid – ask spread can be used as a proxy of information asymmetry. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลของข่าวสาธารณะต่อปริมาณการซื้อขายผิดปกติของนักลงทุนที่มีข้อมูลที่เหนือกว่าและนักลงทุนที่มีข้อมูลที่ด้อยกว่าในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Effect of public information on abnormal trading volume of informed and uninformed investors in the stock exchange of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | - |
thailis.controlvocab.thash | การลงทุน | - |
thailis.controlvocab.thash | การเงิน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ความไม่สมมาตรของข้อมูลเป็นประเด็นสำคัญในการศึกษาทางการเงิน เนื่องจากเป็นปัจจัยที่ ส่งผลต่อสมมติฐานทางการเงินที่สำคัญ ได้แก่ สมมติฐานตลาดประสิทธิภาพและสมมติฐานตลาดที่ สมบูรณ์ ซึ่งทั้งสองสมมติฐานส่งผลต่อผลตอบแทนของนักลงทุน การศึกษาครั้งนี้ ได้ทดสอบความไม่ สมมาตรของข้อมูล ระหว่างกลุ่มนักลงทุนสถาบันและกลุ่มนักลงทุนรายย่อยภายในประเทศ ที่เกิดขึ้น ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้วิธีการศึกษาเหตุการณ์ ความไม่สมมาตรของข้อมูลใน การวิจัยนี้ ได้พิจารณาจากรูปแบบข้อมูลปริมาณการซื้อขายรายวันของนักลงทุนทั้งสองกลุ่มในช่วง ก่อนและหลังการประกาศข้อมูลการจ่ายปันผล และการประกาศข้อมูลผลประกอบการรายไตรมาส ของหุ้นที่อยู่ในดัชนี SET50 ระหว่างปี พ.ศ. 2555-2558 ผลการวิจัยพบว่า นักลงทุนรายย่อยมีปริมาณการซื้อขายผิดปกติสูงกว่านักลงทุนสถาบันอย่างมี นัยสำคัญ นำไปสู่ข้อสรุปที่ว่า ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีภาวะความไม่สมมาตรของข้อมูล ปรากฏอยู่ และความไม่สมมาตรของข้อมูลที่พบ ปรากฏอยู่ในกลุ่มนักลงทุนรายย่อยมากกว่านักลงทุน สถาบัน กล่าวได้ว่า การมีปริมาณการซื้อขายเกินปกติที่สูงกว่าของนักลงทุนรายย่อย สะท้อนการ ปรับตัวตอบรับข้อมูล ในขณะที่นักลงทุนสถาบันมีข้อมูลที่เหนือกว่า จึงไม่ต้องปรับปริมาณการซื้อ ขายมากเท่ากับนักลงทุนรายย่อย นอกจากนี้ การวิจัยยังได้ทดสอบผลของการประกาศข่าวในด้านบวก ข่าวในด้านลบต่อกิจการ และทดสอบปัจจัยที่มีผลต่อความไม่สมมาตรของข้อมูลอีกสามปัจจัยคือ ขนาดกิจการ จำนวน นักวิเคราะห์ที่ติดตามหุ้นของบริษัท และส่วนต่างราคาซื้อขาย ผลการวิจัยพบว่า ส่วนต่างราคาซื้อขาย เป็นปัจจัยที่มีผลต่อความแตกต่างของปริมาณการซื้อขายที่ผิดปกติของนักลงทุนทั้งสองกลุ่มอย่างมี นัยสำคัญทั้งก่อนและหลังการประกาศผลประกอบการ รายไตรมาส ผลโดยรวมของการวิจัยได้ข้อสรุปสำคัญที่ว่า ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นักลงทุน สถาบันมีความได้เปรียบเชิงข้อมูลข่าวสารมากกว่านักลงทุนรายย่อย และ ส่วนต่างราคาซื้อขาย สามารถใช้เป็นปัจจัยตัวแทนความไม่สมมาตรของข้อมูลได้ | en_US |
Appears in Collections: | BA: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
601532201 ทะนุ ประเสริฐสุนทร.pdf | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.