Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74140
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รวี ลงกานี | - |
dc.contributor.author | ธนสิทธ์ เจียรวนนท์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-24T04:36:54Z | - |
dc.date.available | 2022-09-24T04:36:54Z | - |
dc.date.issued | 2020-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74140 | - |
dc.description.abstract | According to the conventional of economic and finance theories, an institutional investor is considered as a rational investor. Their investment is based on financially relevant factors with no variable related to sentiment (belief, emotion and feeling). At the same time, a large number of researchers have found that individual investor investment decision is correlated with sentiment. Recent research has found a relationship between the trading behavior of institutional investor and the sentiment index. The evident confirms that institutional investor make an investment decision based on their sentiment. The research’s conclusion therefore contradicts to the conventional theories. Research questions of this paper focus to examine on whether institutional investor in Thailand make decision based on only rational factors or not? This research studied the relationship between an institutional investor in Thailand and the investor sentiment index in Thailand. By using institution demand shock in risky stocks factor as a proxy of institutional investor trading behavior. The findings confirm the relationship between institutional investor in Thailand and sentiment index and also found the behavior of buying low-risk stocks rather than high-risk stocks when the sentiment index was rising. Moreover, their trading behavior can predict Thailand stock exchange return. When they buy high-risk stocks rather than lowrisk stocks, market return trend to decline in the next quarter. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีวัดทัศนคติของนักลงทุนและความต้องการเกิน ปกติของนักลงทุนสถาบันต่อหลักทรัพย์ความเสี่ยงสูง | en_US |
dc.title.alternative | Relationship between investor sentiment index and institution demand shock in risky stocks | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การลงทุน | - |
thailis.controlvocab.thash | การวิเคราะห์การลงทุน | - |
thailis.controlvocab.thash | นายทุน -- พฤติกรรม | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ตามแนวคิดการลงทุนกระแสหลัก นักลงทุนสถาบันถือเป็นนักลงทุนที่มีเหตุมีผลที่ตัดสินในลงทุนด้วยปัจจัยที่เกี่ยวข้องทางการเงินโดยไม่มีตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อ อารมณ์และความรู้สึก (ทัศนคติ) ในขณะเดียวกันมีงานวิจัยจำนวนมากที่พบว่าการตัดสินใจลงทุนของนักลงทุนรายย่อยมีความสัมพันธ์กับดัชนีชี้วัดทัศนคติ งานวิจัยล่าสุดได้พบความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการซื้อขายของนักลงทุนสถาบันและดัชนีวัดทัศนคตินักลงทุน และมีบทสรุปที่ยืนยันว่านักลงทุนสถาบันมีการตัดสินใจบนพื้นฐานของความเชื่อ อารมณ์และความรู้สึก ผลวิจัยจึงขัดแย้งกับแนวคิดการลงทุนกระแสหลัก งานวิจัยนี้จึงทดสอบโดยมีคำถามงานวิจัยว่านักลงทุนสถาบันในประเทศไทยตัดสินใจด้วยปัจจัยอื่นนอกเหนือจากเหตุผลหรือไม่ งานวิจัยนี้ได้ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างนักลงทุนสถาบันในประเทศไทยกับดัชนีวัดทัศนคตินักลงทุน โดยใช้ "ความต้องการเกินปกติต่อหลักทรัพย์ความเสี่ยงสูง" เป็นตัวแปรชี้วัดพฤติกรรมการซื้อขายของนักลงทุนสถาบัน ผลการวิจัยยืนยันความสัมพันธ์ ระหว่างนักลงทุนสถาบันในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและดัชนีวัดทัศนกติ และยังพบพฤติกรรมการซื้อหุ้นความเสี่ยงต่ำมากกว่าหุ้นความเสี่ยงสูง เมื่อดัชนีทัศนคตินักลงทุนปรับตัวเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นยังคันพบว่าพฤติกรรมการซื้อขายของนักลงทุนสถาบันสามารถพยากรณ์ผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยพบว่าเมื่อนักลงทุนสถาบันซื้อหุ้นความเสี่ยงสูงมากกว่าหุ้นความเสี่ยงต่ำ ผลตอบแทนจะมีแนวโน้มลดลงในไตรมาสถัดไป | en_US |
Appears in Collections: | BA: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
601532212 ธนสิทธิ์ เจียรวนนท์.pdf | 2.42 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.