Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74137
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชรา ตันติประภา-
dc.contributor.authorสุนารี ขันโทen_US
dc.date.accessioned2022-09-24T04:09:06Z-
dc.date.available2022-09-24T04:09:06Z-
dc.date.issued2021-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74137-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study the behavior of generation Y homosexual male in Mueang Chiang Mai district towards selecting cosmetic stores. The definition of a cosmetic product retailer is an offline retail store. The sample group was 300 homosexual men generation Y (those born between 1977 and 1994) who lived, worked, or studied in Mueang Chiang Mai District and bought cosmetics at least once in the past 6 months. Data were collected by using questionnaires. The statistical values used in data analysis were descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, Chi-square and t-test. The findings revealed that most of the respondents had the highest level of education which was a bachelor's degree, working as a private company employee with an average monthly income of 20,001 - 25,000 baht. Regarding the behavior of selecting cosmetics retailing store, it was found that during the past 6 months, the respondents had bought cosmetics from offline channels the most followed by both offline and online channels. The most frequent cosmetics retailing store was Watson. Skincare was the most bought type. Most of the cosmetic formulas used were generic (Unisex). Types of cosmetics retailing store where respondents mainly bought cosmetic products was a specialty store. The average cost per time was 901 - 1,200 baht and the average monthly cost was less than 2,000 baht. The criteria used to select cosmetics retailing store were convenience in transportation, proximity to community areas, and adequate parking area. Friends were influential in selecting retail stores besides yourself. The opportunity to buy cosmetic products was when it is used up. The frequency of buying cosmetic products was once a month. The most frequently used retail locations were in shopping centers. The most common source of information was online media Instagram. The respondents were very satisfied after buying from cosmetics retailing store and most of them would definitely return to the store for next purchase and would probably recommend the store to the others. The results of the study on the level of influence of the retail mix factor on the selection of cosmetic retailers by found that the customer service was at the highest level of influence. In terms of location, pricing strategy, merchandise planning and assortment, store design and display, and communication mix were at a high level of influence.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมของกลุ่มชายรักชายเจเนอเรชันวายในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อการเลือกร้านค้าปลีกผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางen_US
dc.title.alternativeBehavior of generation y homosexual male in Mueang Chiang Mai district towards selecting cosmetic storesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเครื่องสำอาง-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค-
thailis.controlvocab.thashการเลือกของผู้บริโภค-
thailis.controlvocab.thashเกย์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มชายรักชาย เจเนอเรชันวายในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อการเลือกร้านค้าปลีกผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ในที่นี้ร้านค้า ปลีกผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางหมายถึงร้านค้าปลีกแบบออฟไลน์ โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มผู้บริโภค กลุ่มชายรักชายเจเนอเรชันวาย (ผู้ที่เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2520 - พ.ศ. 2537) ที่อาศัยหรือทำงานหรือ ศึกษาในอำเภอเมืองเชียงใหม่และได้ซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางอย่างน้อย 1 ครั้งในช่วง 6 เดือน ที่ผ่านมา จำนวน 300 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ไคสแควร์ และ t-test ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับศึกษาสูงสุด คือปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 - 25,000 บาท ในส่วนพฤติกรรม ในการเลือกร้านค้าปลีกผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง พบว่า ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาผู้ตอบแบบสอบถาม เคยซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากช่องทางออฟไลน์มากที่สุด รองลงมาคือซื้อทั้งช่องทางออฟไลน์ และออนไลน์ ร้านค้าปลีกที่ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางปลีกบ่อยที่สุด คือ วัตสัน โดยซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางประเกทไม่แต่งสีผิว (Skin care มากที่สุด โดยสูตรเครื่องสำอางที่ใช้ ส่วนใหญ่ คือ สูตรทั่วไป (Unisex) ประเภทร้านค้าปลีกที่ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อผลิตภัณฑ์ เครื่องสำอางเป็นหลัก คือ ร้านขายสินค้าเฉพาะอย่าง มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้งในการซื้อ คือ 901 - 1,200 บาท และมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนน้อยกว่า 2,000 บาท เกณฑ์ที่ใช้ในการเลือกร้านค้า คือ ความ สะดวกสบายในการเดินทาง ใกล้แหล่งชุมชน และมีที่จอดรถเพียงพอ เพื่อนคือผู้มีอิทธิพลในการเลือก ร้านค้าปลีกนอกจากตัวเอง โอกาสในการซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง คือ ซื้อเมื่อใช้สินค้านั้นจนหมด มีความถี่ในการซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเดือนละครั้ง ทำเลที่ตั้งของร้านค้าปลีกที่ใช้บริการบ่อยที่สุด อยู่ในศูนย์การค้า แหล่งที่ใช้ในการศึกษาข้อมูล คือ สื่อออนไลน์โดยศึกษาจากอินสตาแกรมมากที่สุด มีความพึงพอใจมากหลังจากซื้อจากร้านค้าปลีกและส่วนใหญ่จะกลับไปใช้บริการซ้ำอย่างแน่นอน และอาจจะแนะนำบุคคลอื่นเพื่อให้เลือกร้านค้าที่ชอบไป ผลการศึกษาระดับการมีผลต่อการเลือกร้านค้าปลีกผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางของปัจจัย ส่วนประสมร้านค้าปลีก พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ระดับการมีผลในระดับมากที่สุด คือ ด้านการ บริการลูกค้า ส่วนปัจจัยด้านทำเลที่ตั้ง ด้านกลยุทธ์การตั้งราคา ด้านความหลากหลายของประเภท สินค้า ด้านการออกแบบร้านและจัดวางสินค้า และด้านการสื่อสารการตลาดผู้ตอบแบบสอบถาม ให้ระดับการมีผลในระดับมากen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532156 สุนารี ขันโท.pdf8.49 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.