Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74120
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฑาทิพย์ เฉลิมผล-
dc.contributor.authorเอกชัย สุสกุลโชคดีen_US
dc.date.accessioned2022-09-21T00:57:13Z-
dc.date.available2022-09-21T00:57:13Z-
dc.date.issued2022-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74120-
dc.description.abstractThe purpose of this research is to: (1) study basic economic characteristics, social conditions and use of agricultural pesticides by farmers in Sop Moei District, Mae Hong Son Province; (2) analyze the level of farmers' opinions regarding the ban on paraquat and chlorpyriphos and restricted use of glyphosate; (3) analyze problems and suggestions of farmers regarding the ban on paraquat and chlorpyriphos and restricted use of glyphosate. The sample used for this research consists of 151 farmers in Sop Moei District, Mae Hong Son Province. Data collection is conducted via interview format. Statistics used for data analysis include percentage, mean, maximum, minimum, and standard deviation, with multiple regression analysis used to test hypotheses and analyze factors affected by the ban on paraquat and chlorpyriphos and restricted use of glyphosate in Sop Moei District, Mae Hong Son Province. Results of the study indicate that the majority of farmers are male with an average age of 38.31 years, belong to the Karen ethnic group, and are primary school graduates. Farmers cultivate an area of 11.92 rai on average, while the average annual income is 75,370.86 THB. Rice is the most commonly cultivated crop type, with the average number of cultivated crop types being 2.55. Data collected regarding use of chemical pesticides, specifically paraquat, chlorpyrifos and glyphosate, can be summarized as follows. (1) Paraquat was formerly used by 92.1% of farmers, with the average duration of use being 5.22 years. (2) Chlorpyrifos has never been used by 62.9% of farmers; only a small number of farmers have ever used chlorpyrifos, with the average duration of use being 1.86 years. (3) Glyphosate has been used by 98.0% of farmers, the majority, with an average duration of use of 5.36 years. Regarding problems, obstacles and suggestions relating to the ban on paraquat and chlorpyriphos and restricted use of glyphosate, it was found that, overall, farmers experienced problems and obstacles at a moderate level (= 1.98), and opinions of farmers regarding said ban and restricted use remain at a level of uncertainty (= 2.82). However, there is general disagreement among farmers regarding of the ban and restriction, that agree on regarding paraquat and chlorpyriphos ban and limit using of glyphosate, that paraquat, chlorpyriphos and glyphosate are not widely used that is harder to buy than other chemicals, that paraquat, chlorpyriphos and glyphosate are low efficiency, that these chemicals are not required for agriculture, and not receive effects of the ban and restriction paraquat, chlorpyriphos and glyphosate. Hypothesis testing concludes that the ban on paraquat and chlorpyriphos and restricted use of glyphosate affects factors including cultivation area, revenue from agriculture, number of plant type cultivated , and creation of problems and obstacles, with statistical significance (p<0.05).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความคิดเห็นของเกษตรกรในอำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ต่อการยกเลิก การใช้พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และการจำกัดการใช้ไกลโฟเซตen_US
dc.title.alternativeOpinions of farmers in Sop Moei District, Mae Hong Son Province on regarding paraquat and chlorpyriphos ban and limit using of glyphosateen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashยากำจัดศัตรูพืช-
thailis.controlvocab.thashสารเคมีทางการเกษตร-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- สบเมย (แม่ฮ่องสอน)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะพื้นฐานบางประการทางเศรษฐกิจ สภาพสังคมและการใช้สารกำจัดศัตรูพืชในการเกษตรของเกษตรกรในพื้นที่อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 2) วิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของเกษตรต่อการประกาศยกเลิกการใช้ พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และจำกัดการใช้ไกลโฟเซต และ 3) วิเคราะห์ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรจากการประกาศยกเลิกการใช้พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และจำกัดการใช้ไกลโฟเซต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ เกษตรกรในพื้นที่อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวน 151 ราย โดยข้อมูลที่รวบรวมได้มาจากแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยการวิเคราะห์ถดถอยพหุ เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการยกเลิกการใช้พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และการจำกัดการใช้ไกลโฟเซต ในพื้นที่อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 38.31 ปี เป็นกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา มีพื้นที่เพาะปลูกเฉลี่ย 11.92 ไร่ มีรายได้จากการเพาะปลูกเฉลี่ย 75,370.86 บาท/ปี โดยพืชที่เกษตรกรเพาะปลูกมากที่สุดเป็นอันดับที่ 1 คือ ข้าว การเพาะปลูกพืชเฉลี่ยต่อราย 2.55 ชนิด ด้านข้อมูลการใช้สารกำจัดศัตรูพืช และการใช้พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซตทั้ง 3 ชนิด พบว่า 1) การใช้สารพาราควอต เกษตรกรส่วนใหญ่เคยใช้สารพาราควอต ร้อยละ 92.1 โดยมีระยะเวลาการใช้สารเคมีเฉลี่ย 5.22 ปี 2) การใช้สารคลอร์ไพริฟอส เกษตรกรไม่เคยใช้สารคลอร์ไพริฟอส ร้อยละ 62.9 มีเพียงเกษตรกรบางรายที่เคยใช้สารคลอร์ไพริฟอส ซึ่งมีระยะเวลาการใช้สารเคมีเฉลี่ย 1.86 ปี และ 3) การใช้สารไกลโฟเซต เกษตรกรส่วนใหญ่เคยใช้สารไกลโฟเซต ร้อยละ 98.0 โดยมีระยะเวลาการใช้สารเคมีเฉลี่ย 5.36 ปี ส่วนด้านปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อการยกเลิกการใช้พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และการจำกัดการใช้ไกลโฟเซต พบว่าในภาพรวมเกษตรกรมีปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะอยู่ในระดับปานกลาง (x ̅ = 1.98) และพบว่าในภาพรวมเกษตรกรมีความคิดเห็นที่ไม่แน่ใจ ( x ̅ = 2.82 ) ต่อการได้รับผลกระทบจากการยกเลิกการใช้พาราควอต คลอร์ไพริฟอสและการจำกัดการใช้ไกลโฟเซต พบว่ามีประเด็นที่เกษตรกรมีความคิดไม่เห็นด้วยต่อการยกเลิกการใช้สารเคมี ได้แก่ เห็นด้วยกับการยกเลิกการใช้สารพาราควอต คลอร์ไพริฟอส และการจำกัดการใช้ไกลโฟเซต, สารพาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซต เป็นสารเคมีที่ใช้กันไม่แพร่หลายหาซื้อได้ยากกว่าสารเคมีชนิดอื่น, การใช้สารพาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซต มีประสิทธิภาพต่ำเห็นผลช้า, สารพาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซตไม่จำเป็นต้องใช้ในการทำการเกษตร, ไม่ได้รับผลกระทบจากการยกเลิกการใช้พาราควอต คลอร์ไพริฟอสและการจำกัดการใช้ไกลโฟเซต ผลการทดสอบมมติฐานพบว่า ปัจจัยด้านพื้นที่เพาะปลูกพืช รายได้จากการเพาะปลูก จำนวนชนิดพืชที่เพาะปลูก และปัญหา อุปสรรค มีผลต่อระดับความคิดเห็นต่อการยกเลิกการใช้พาราควอต คลอร์ไพริฟอสและการจำกัดการใช้ไกลโฟเซตของเกษตรกร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.05)en_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620832011เอกชัย สุสกุลโชคดี.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.